Processed Food Operational Project
Permanent URI for this community
Browse
Browsing Processed Food Operational Project by Issue Date
Now showing 1 - 20 of 93
Results Per Page
Sort Options
Item การพัฒนาซุปหน่อไม้และน้ำจิ้มแจ่วแบบเหนือในถุงรีทอร์ตเพื่อพัฒนาเชิงพาณิชย์ต่อไปในประเทศจีน(2021-07) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิต; สาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพและการชะลอวัย โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตอาหารไทยเป็นอาหารที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในเรื่องรสชาติ อาหารไทยมีการผสมผสานของรสชาติต่างๆ คือ รสหวาน รสเปรี้ยว รสเค็ม และรสเผ็ดร้อนจากพริก อีกทั้งยังมีการนำเอาวิธีการปรุงอาหารของเอเชียตะวันออกจากหลายประเทศมาผสมผสานทำให้เกิดความหลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการนำเอาเครื่องเทศสมุนไพรหลายชนิดมาใช้เป็นส่วนผสม จึงทำให้ได้รับความนิยมจากชาวต่างชาติ อร่อยทั้งรสชาติสารอาหารครบถ้วน และดีต่อสุขภาพของผู้บริโภค อาหารที่มีส่วนประกอบวัตถุดิบในท้องถิ่น หรืออาหารท้องถิ่นกำลังเป็นกระแสที่น่าจับตามองในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อาหารถิ่นของไทยแต่ละภาคมีความน่าสนใจและมีเอกลักษณ์แตกต่างที่ได้รับมาจากวัฒนธรรมท้องถิ่น การนำเสนออาหารไทยเมนูท้องถิ่น ได้แก่ น้ำเงี้ยวของภาคเหนือ ไตปลาของภาคใต้ จิ้มจุ่มของภาคตะวันออกเฉียงเหนือแกงส้มและแกงเลียงของภาคกลาง ในรูปแบบพร้อมบริโภคจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจItem เครื่องหมายการค้า sd Suandusit(กองเครื่องหมายการค้า กรมทรัพย์สินทางปัญญา, 2021-10-22) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าและเครื่องบริการ ดำเนินการโดยโครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารภายใต้ เครื่องหมายการค้า sd Suandusit จำพวก 29 รายการสินค้าบริการ ซุปต้มยำนํ้าขึ้น น้ำแกงฉู่ฉี่ น้ำยาปู น้ำพริกปลาร้า ปลาร้าหลน เกาเหลาเป็ดตุ๋น เกาเหลาเนื้อตุ๋น โยเกิร์ตรสออริจินัล โยเกิร์ตผสมสตรอว์เบอร์รี โยเกิร์ตผสมวุ้นมะพร้าว โยเกิร์ตผสมเลมอนItem Effects of Manufacturing Conditions on Physical Characteristics of Recombined Butter and Quality of Butter and Sponge Cakes(Journal of Culinary Science & Technology, 2022-05-04) Kanokkan Weeragul; Sawanya PandolsookThis research investigated the effects of pasteurization and churning on physical characteristics of recombined butter (REB). The pasteurization time showed some effects on b*and viscosity of butter emulsion. The churning time had effects on physical properties (color, viscosity, emulsion stability; ES and melting point; MP) of butter. The butter churned for 40 min showed more viscosity (53.62 Pa.s), stronger structure (80.49% ES), and higher MP (5ºC), than the butter churned for 30 min. The REB crystalline showed needle-like crystals that consisted of pseudo-β andβ polymorphic forms. The specific volumes of butter and sponge cakes made form REB were not different. Meanwhile, the hardness of both cakes was significantly in the lower level than commercial butter cake (CB) (0.60–0.88 N). The sensory scores (appearance, softness, and overall liking) of cakes produced with REB were not different from CB. These …Item รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2564(2022-08-18) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2564 ตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (SDU QA) จากการประเมินตนเองใน 7 ตัวบ่งชี้ ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตItem รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศึกษา 2565(2023-08-15) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตการประเมินตนเองประจําปีการศึกษา 2565 ตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (SDU QA) จากการประเมินตนเองใน 7 ตัวบ่งชี้ ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตItem คู่มือคุณภาพตามมาตรฐาน GHPs (Good Hygiene Practices) และ มาตรฐาน HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point)(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตคู่มือคุณภาพโดยทั่วไปจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักการและแนวทางปฏิบัติงาน ระบุถึงการบริหารจัดการของกิจกรรมภายในองค์กร อันประกอบด้วย อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิธีการปฏิบัติงาน รวมถึงการควบคุมการปฏิบัติงานด้วย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวนั้นจะนำไปปฏิบัติและรักษาระบบมาตรฐานการปฏิบัติงาน และหลักเกณฑ์ที่ดีสำหรับกระบวนการผลิต และความปลอดภัยอาหาร โดยส่วนของข้อกำหนด รายละเอียดของขั้นตอนปฏิบัติงานต่างๆItem คู่มือคุณภาพตามมาตรฐานฮาลาล(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตฮาลาลเป็นมาตรฐานสำคัญสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่ส่งออกไปยังประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามและบริโภคอาหารฮาลาล โดยในปัจจุบันมีสัดส่วนเกินครึ่งของการบริโภคอาหารของประชากรโลก ทำให้ผู้ประกอบการหันมาให้ความสนใจกับการผลิตอาหารฮาลาลให้ถูกต้องตามข้อกำหนดกันมากขึ้น โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูปได้ขออนุญาตใช้ตราฮาลาลบนบรรจุภัณฑ์อาหาร ประเภทอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ซึ่งกระบวนการผลิตจะต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับบทบัญญัติศาสนาอิสลาม ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ รวมถึงทำให้สามารถมั่นใจได้ว่าพนักงานได้รับการฝึกอบรม ทักษะ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความสามารถเพียงพอในการควบคุมการผลิตผลิตภัณฑ์ฮาลาล จากนั้นจะต้องทำการตรวจติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบคุณภาพฮาลาลอย่างต่อเนื่องItem การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กประถมศึกษา(2024) กนกกานต์ วีระกุล; ศวรรญา ปั่นดลสุข; ณัชฌา พันธุ์วงษ์; นฤมล นันทรักษ์; ณัชนก นุกิจการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กประถมศึกษามีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) ศึกษาประวัติ ความเป็นมา และรูปแบบหรือเอกลักษณ์ของรายการอาหารกลางวันสวนดุสิตที่เหมาะสมตามวัยของเด็กประถมศึกษา 2) พัฒนาตำรับอาหารกลางวันสำหรับเด็กประถมศึกษา ตามมาตรฐานข้อกำหนดการได้รับปริมาณอาหารและคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กช่วงประถมศึกษา จำนวน 10 ตำรับ 3) พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารกลางวันสำเร็จรูปพร้อมบริโภคสำหรับเด็กประถมศึกษา ตามมาตรฐานข้อกำหนดการได้รับปริมาณอาหารและคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กประถมศึกษาItem การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย (ระดับอนุบาล)(2024) ฐิตา ฟูเผ่า; ฉัตรชนก บุญไชย; ยศพร พลายโถ; นราธิป ปุณเกษม; กันต์กนิษฐ์ จงรัตนวิทย์การจัดอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยต้องมีคุณค่าทางโภชนาการที่เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพต่อความต้องการของเด็ก เพื่อให้มีการเจริญเติบโตตามวัย และเป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยในการรับประทานอาหารให้กับเด็ก การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอัตลักษณ์อาหารกลางวันสวนดุสิตที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย จากกระบวนการระดมความคิดเห็นจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีการศึกษาข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการและเว็บไซต์ และได้ทำการคัดเลือกตำรับอาหารกลางวันที่เหมาะสมตามมาตรฐาน โดยใช้เกณฑ์การพิจารณาจากรายการอาหารที่เด็กมีความชื่นชอบ คุณค่าทางโภชนาการ และความเหมาะสมสำหรับกระบวนการผลิตอาหารสำเร็จรูปบรรจุซองรีทอร์ท และพัฒนาอาหารกลางวันสำเร็จรูปพร้อมบริโภคสำหรับเด็กปฐมวัยItem นมพาสเจอร์ไรส์(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีนโยบายจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมอย่างครบวงจร ในปีพ.ศ. 2568 เนื่องจากเล็งเห็นว่าจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดใกล้เคียงยังไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว หรือศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับนมซึ่งทําให้เกิดข้อจำกัดในการเรียนรู้ การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ฯเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ด้านผลิตภัณฑ์นมจนเกิดเป็นความเชี่ยวขาญ โดยริ่มต้นจากการจัดตั้งโครงการศูนย์ปฏิบัติการเนยในปี พ.ศ. 2552 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการผลิตเนยคืนรูปคุณภาพสูง และเพื่อใช้ในหน่วยงานผลิตอาหารของมหาวิทยาลัย จากนั้นได้ก่อตั้งโครงการปฏิบติการอาหารแปรรูป ในปี พ.ศ.. 2564 ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารของนักศึกษาด้านการประกอบอาหาร และการแปรรูปอาหาร ได้แก่ อาหารสําเร็จรูป นมพาสเจอร์ไรซ์ นมสเตอริไรซ์ โยเกิร์ต และน้ำดื่ม รวมทั้งยังเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และสหกิจศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 โครงการฯ ได้เริ่มผลิตนมพาสเจอไรซ์สำหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ และผลิตเนยแข็งในปีพ.ศ. 2568Item ศูนย์การเรียนรู้การผลิตเนยแข็ง(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีนโยบายจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมอย่างครบวงจร ในปีพ.ศ. 2568 เนื่องจากเล็งเห็นว่าจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดใกล้เคียงยังไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว หรือศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับนมซึ่งทําให้เกิดข้อจำกัดในการเรียนรู้ การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ฯเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ด้านผลิตภัณฑ์นมจนเกิดเป็นความเชี่ยวขาญ โดยริ่มต้นจากการจัดตั้งโครงการศูนย์ปฏิบัติการเนยในปี พ.ศ. 2552 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการผลิตเนยคืนรูปคุณภาพสูง และเพื่อใช้ในหน่วยงานผลิตอาหารของมหาวิทยาลัย จากนั้นได้ก่อตั้งโครงการปฏิบติการอาหารแปรรูป ในปี พ.ศ.. 2564 ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารของนักศึกษาด้านการประกอบอาหาร และการแปรรูปอาหาร ได้แก่ อาหารสําเร็จรูป นมพาสเจอร์ไรซ์ นมสเตอริไรซ์ โยเกิร์ต และน้าดื่ม รวมทั้งยังเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และสหกิจศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 โครงการฯ ได้เริ่มผลิตนมพาสเจอไรซ์สำหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ และผลิตเนยแข็งในปีพ.ศ. 2568Item โยเกิร์ต สวนดุสิต(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีนโยบายจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมอย่างครบวงจร ในปีพ.ศ. 2568 เนื่องจากเล็งเห็นว่าจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดใกล้เคียงยังไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว หรือศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับนมซึ่งทําให้เกิดข้อจำกัดในการเรียนรู้ การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ฯเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ด้านผลิตภัณฑ์นมจนเกิดเป็นความเชี่ยวขาญ โดยริ่มต้นจากการจัดตั้งโครงการศูนย์ปฏิบัติการเนยในปี พ.ศ. 2552 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการผลิตเนยคืนรูปคุณภาพสูง และเพื่อใช้ในหน่วยงานผลิตอาหารของมหาวิทยาลัย จากนั้นได้ก่อตั้งโครงการปฏิบติการอาหารแปรรูป ในปี พ.ศ.. 2564 ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารของนักศึกษาด้านการประกอบอาหาร และการแปรรูปอาหาร ได้แก่ อาหารสําเร็จรูป นมพาสเจอร์ไรซ์ นมสเตอริไรซ์ โยเกิร์ต และน้าดื่ม รวมทั้งยังเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และสหกิจศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 โครงการฯ ได้เริ่มผลิตนมพาสเจอไรซ์สำหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ และผลิตเนยแข็งในปีพ.ศ. 2568Item ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมทาน(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีนโยบายจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมอย่างครบวงจร ในปีพ.ศ. 2568 เนื่องจากเล็งเห็นว่าจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดใกล้เคียงยังไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว หรือศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับนมซึ่งทําให้เกิดข้อจำกัดในการเรียนรู้ การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ฯเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ด้านผลิตภัณฑ์นมจนเกิดเป็นความเชี่ยวขาญ โดยริ่มต้นจากการจัดตั้งโครงการศูนย์ปฏิบัติการเนยในปี พ.ศ. 2552 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการผลิตเนยคืนรูปคุณภาพสูง และเพื่อใช้ในหน่วยงานผลิตอาหารของมหาวิทยาลัย จากนั้นได้ก่อตั้งโครงการปฏิบติการอาหารแปรรูป ในปี พ.ศ.. 2564 ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารของนักศึกษาด้านการประกอบอาหาร และการแปรรูปอาหาร ได้แก่ อาหารสําเร็จรูป นมพาสเจอร์ไรซ์ นมสเตอริไรซ์ โยเกิร์ต และน้าดื่ม รวมทั้งยังเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และสหกิจศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 โครงการฯ ได้เริ่มผลิตนมพาสเจอไรซ์สำหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ และผลิตเนยแข็งในปีพ.ศ. 2568Item ศูนย์การเรียนรู้ผลิตภัณฑ์นม(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีนโยบายจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมอย่างครบวงจร ในปีพ.ศ. 2568 เนื่องจากเล็งเห็นว่าจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดใกล้เคียงยังไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว หรือศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับนมซึ่งทําให้เกิดข้อจำกัดในการเรียนรู้ การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ฯเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ด้านผลิตภัณฑ์นมจนเกิดเป็นความเชี่ยวขาญ โดยริ่มต้นจากการจัดตั้งโครงการศูนย์ปฏิบัติการเนยในปี พ.ศ. 2552 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการผลิตเนยคืนรูปคุณภาพสูง และเพื่อใช้ในหน่วยงานผลิตอาหารของมหาวิทยาลัย จากนั้นได้ก่อตั้งโครงการปฏิบติการอาหารแปรรูป ในปี พ.ศ.. 2564 ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารของนักศึกษาด้านการประกอบอาหาร และการแปรรูปอาหาร ได้แก่ อาหารสําเร็จรูป นมพาสเจอร์ไรซ์ นมสเตอริไรซ์ โยเกิร์ต และน้าดื่ม รวมทั้งยังเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และสหกิจศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 โครงการฯ ได้เริ่มผลิตนมพาสเจอไรซ์สำหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ และผลิตเนยแข็งในปีพ.ศ. 2568Item โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงด้านอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร ให้กับนักศึกษาโดยมุ่งเน้นให้รู้จักวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการประกอบอาหารในระดับอุตสาหกรรม(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงด้านอุตสาหกรรมการประกอบอาหารหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร โรงเรียนการเรือน ร่วมกับ โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป จัดโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงด้านอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร ให้กับนักศึกษาโดยมุ่งเน้นให้รู้จักวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการประกอบอาหารในระดับอุตสาหกรรม ระหว่างวันที่ 1 – 5 พฤษภาคม 2567 และการพัฒนาทักษะการปรุงประกอบอาหารการแปรรูปและการต่อยอด ในระดับอุตสาหกรรม ระหว่างวันที่ 6 – 15 พฤษภาคม 2567 ณ โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรีItem โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการอาหารฮาลาล ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 8 คน ในภาคฤดูร้อน(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิต; คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาตรังโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการอาหารฮาลาล ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรการจัดการบัณฑิตหลักสูตรการจัดการบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการธุรกิจอาหารฮาลาล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาตรัง จัดโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการอาหารฮาลาล ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 8 คน ในภาคฤดูร้อน ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2567 ณ โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรีItem รายงานโครงการฏิบัติการอาหารแปรรูป ประจำปี2567(2024) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตรายงานโครงการฏิบัติการอาหารแปรรูป ประจำปี2567 การบริการวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย - เข้าศึกษาดูงาน - ให้คำปรึกษา - พัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ - อบรมและฝึกประสบการณ์ การผลิตผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมายการค้า sd suandusit การพัฒนาบุคลากร การได้รับรองมาตรฐานสากลItem การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภค และอาหารว่าง ตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย และประถมศึกษา(2024) กนกกานต์ วีระกุล; จันทร์จนา ศิริพันธ์วัฒนา; ธนพัฒน์ แสงรุ่งเรือง; ฐิตา ฟูเผ่า; นราธิป ปุณเกษมการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภค และอาหารว่าง ตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย และประถมศึกษา ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการและควบคุมคุณภาพมาตรฐานการจัดการอาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภค และถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคให้กลุ่มเป้าหมาย ผลการวิจัย พบว่าเอกลักษณ์ของการจัดบริการอาหารกลางวัน และอาหารว่างสวนดุสิตที่หมาะสมตามวัย เป็นการกำหนดรายการอาหารและสัดส่วนอาหารตามความต้องการพลังงานและสารอาหารที่ควรได้รับในแต่ละช่วงวัย และมีการให้ความสำคัญในการจัดเตรียมสำหรับนักเรียนที่มีการแพ้อาหาร และส่งเสริมการเรียนรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารที่หลากหลายItem คู่มือการปรุงอาหารกลางวันเด็กวัยเรียน(2024-01) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ; โรงเรียนการเรือน; สวนดุสิตโฮมเบเกอรี่; ศูนย์ฝึกปฏิบัติการอาาหารนานาชาติ; โครงการอาหารกลางวัน 1เด็กวัยเรียน เป็นช่วงวัยที่เจริญเติบโต มีพัฒนาการทางร่างกาย และจิตใจ รวมทั้งการเรียนรู้อันเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะนำไปสู่ชีวิตที่มีคุณภาพในอนาคต ดังนั้นความตระหน้าถึงโกชนาการสำหรับเด็กวัยเรืยนจึงเป็นสิ่งสำคัญคู่มือการปรุงอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน เล่มนี้เป็นคู่มือที่รวบรวมองค์ความรู้จากงานวิจัย จากการเก็บข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญด้านอาหาร รวมถึงนักโภชนากาการ เพื่อให้ใต้มาซึ่งตำรับอาหารตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งประกอบด้วยรายการอาหารจำนวน 24 รายการ พร้อมทั้งวัตถุดิบ และวิธีการปรุง จากโครงการวิจัยการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภค และละอาหารว่าง ตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย และประถมศึกษาItem อบรมระบบมาตรฐานฮาลาลภายใต้ระเบียบคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย แนวทางการตรวจรับรองกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ และข้อกำหนดการตรวจรับรองกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ฮาลาล ปี พ.ศ 2559(2024-06-25) โครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิตโครงการปฏิบัติการอาหารแปรรูป มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดการอบรมระบบมาตรฐานฮาลาลภายใต้ระเบียบคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย แนวทางการตรวจรับรองกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ และข้อกำหนดการตรวจรับรองกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ฮาลาล ปี พ.ศ 2559 โดยได้รับเกียรติจาก นายสมศักดิ์ ซูโอ๊ะ หัวหน้าวิชาการฝ้ายกิจการฮาลาล สกอท. เป็นวิทยากร ในวันอังคารที่ 25 มิถุนายน 2567 เวลา 9.00-15.30 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี