HUSO-Article
Permanent URI for this collection
Browse
Browsing HUSO-Article by Issue Date
Now showing 1 - 20 of 45
Results Per Page
Sort Options
Item The Effects of Online Learning Management Towards English Grammar Achievement of Business English Students(2021-02-15) กนกวรรณ กุลสุทธิ์; สุดารัตน์ เจตน์ปัญจภัค; ขจีนุช เชาวนปรีชา; สรพล จิระสวัสดิ์; วิลาสินี พลอยเลื่อมแสง; ลลิตา พูลทรัพย์; จุฬาลักษณ์ ปาณะศรีThis research study aimed to compare Business English students' achievement in English grammar before and after obtaining online learning management, and to explore their perceptions towards the development of English grammar knowledge. Quantitative and qualitative research were used. The subjects were 43 Business English senior students in Academic Year 2017 who did the tests and responded to the questionnaires and 5 students were purposively selected to have a group interview. Research instruments were the pretest-posttest, questionnaire and interview schedule. The content validity index of every question in the questionnaire was 1.00. Quantitative data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and dependent sample t-test. Major findings revealed that Business English students' achievement in English grammar improved after online self-study at the statistical significance level of .05. The students showed an agreement with the development of English grammar knowledge through online self-study. The first aspect showing a strong agreement indicated that students learned the content from online grammar exercises as much as they could. Findings from the interview revealed three aspects: being convenient for online self-study through Application, development of grammatical competence and an ability to apply their knowledge to take the TOEIC test.Item ผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ สำหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน(2021-07-01) บรรพต พิจิตรกำเนิดการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแนวทางการเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ส าหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยินและ 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในการทางการเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ของนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยินโดยได้ท าการศึกษาจากนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 5 คนที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโปรแกรมประยุกต์ส าหรับงานห้องสมุดและสารสนเทศ โดยเครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์, สื่อการเรียนรู้ออนไลน์, แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า แนวทางในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ประกอบไปด้วย 3 ระยะ ได้แก่ 1) ก่อนเรียน การเตรียมความพร้อมในเรื่องของแผนการจัดการเรียนการสอน อุปกรณ์เครื่องมือ และล่ามภาษามือ 2) ระหว่างเรียน การติดตาม พูดคุยซักถาม และบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ 3) หลังเรียน การทวนสอบผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นระยะ นอกจากนี้การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ต้องค านึงถึงความเหมาะสมกับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยินด้วย ส าหรับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา พบว่า หลังจากนักศึกษาได้รับการเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์แล้ว มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้นItem ห้องเรียนออนไลน์สำหรับผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเรียนรวม ในรายวิชาปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์เป็นฐาน(2021-09-11) บรรพต พิจิตรกำเนิดบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางในการจัดห้องเรียนออนไลน์สำหรับผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเรียนรวมในรายวิชาปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์เป็นฐาน องค์ประกอบสำคัญประกอบด้วย 1) การวางแผนและการจัดการ 2) การออกแบบสื่อการสอนในห้องเรียนออนไลน์ที่เป็นธรรมสำหรับทุกคน (Universal Design) 3) กิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ และ 4) ช่องทางการติดต่อสื่อสาร โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน 4 ขั้นตอนคือ 1) การวางแผนการสอนและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน 2) การจัดการเรียนการสอนและใช้สื่อที่เป็นธรรมสำหรับทุกคน 3) ปฏิบัติการจากประสบการณ์ตรงสร้างทักษะปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ 4) การให้คำแนะนำและสะท้อนกลับ แนวทางการดังกล่าวสร้างโอกาสทางการศึกษาเพื่อคนทั้งปวงในการขับเคลื่อนการเรียนรวมในยุคดิจิทัล ได้เรียนรู้และรับประสบการณ์ที่มากกว่าเนื้อหารายวิชา แต่ยังคงเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคลItem การจัดการเรียนรู้โดยใช้ห้องเรียนกลับด้านในการสอนออนไลน์เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต(2023-01-04) ปริศนา มัชฌิมา; สายสุดา ปั้นตระกูลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการจัดการฐานข้อมูลก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดแบบห้องเรียนกลับด้านในการสอนออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการจัดการฐานข้อมูล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 11 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ 1) แผนการสอนรายวิชาการจัดการฐานข้อมูลโดยใช้แนวคิดแบบห้องเรียนกลับด้านในการสอนออนไลน์ และ 2) สื่อวิดีทัศน์ ใบงาน กิจกรรม โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรายวิชาการจัดการฐานข้อมูล ในหัวข้อย่อยเรื่องคีย์หลัก ความสัมพันธ์ของข้อมูล การเขียนแบบจำลองข้อมูล และการทำให้เป็นบรรทัดฐาน และ 2) แบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการเรียนรู้โดยการหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบรายคู่ก่อนและหลังเรียน และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดแบบห้องเรียนกลับด้านในการสอนออนไลน์รายวิชาการจัดการฐานข้อมูล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีพัฒนาการรวมเฉลี่ยร้อยละ 58.33 ซึ่งอยู่ในระดับสูงItem A Review of Lexico-grammatical Features and their Functions in an Academic Discourse(2023-04-27) Woravit Kitjaroenpaiboon; Samniang Fahkrajang; Prissana Fongsarun; Wilasinee PloylermsaegSuccessful academic and research writings require correct comprehension of lexical and grammatical uses as a method to understandthe meanings as well as the specific functions in the texts. Woravit Kitjaroenpaiboon and Kanyarat Getkham stated that academic and research writings are not a skill naturally acquired, but needs to be learnt and practiced.. Furthermore, plentiful scholars have proven that some lexical features and grammatical features are found predominantly in the classification not in ordinary language. The lexico-grammatical in this category do not adhere to and are somewhat different from what have been explained in the traditional grammar book. The above statements prove that if one wants to draft an effectively communicative academic or research papers, we should understand how lexico- grammatical function in the particular texts. This paper hence reviews both of related literatures and research studies particularly viewed 23 lexico-grammatical characteristics (i.e. tenses and aspects, passive voice, private, public and suasive verbs, pronouns, downtoners and hedges, possibility, necessity, and prediction modals, synthetic and analytic negations, ‘be’ as main verbs, emphatics, causative subordinations, ‘that’ compliment clauses, wh-clauses, ‘that’ deletion, coordinating conjunctions, sentence relatives, nouns, average word length, type/token ration, predicative and attributive adjectives, adverbs, split auxiliaries, infinitives, gerunds, and participial clauses) in academic and research writings. This review article can benefit researchers who are conducting academic or research papers or others intrigued in investigating specifically underlying communicative functions of a lexico- grammatical feature(s).Item A Review of Lexico-grammatical Features and their Functions in an Academic Discourse(2023-04-27) Woravit Kitjaroenpaiboon; Samniang Fahkrajang; Prissana Fongsarun; Wilasinee PloylermsaengItem การนํากลยุทธ์ทางการตลาดบริการมาใช้ในการบริหารงานห้องสมุด มหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานคร(2023-04-30) ธันย์ณิชา ธนินจิรโชติพัชร; จิตชิน จิตติสุขพงษ์Item Paintings Depicting Beliefs from Phrommachat Texts in Wat Chi Pakhao, Bang Plama, Suphanburi(2023-05-31) Nuaon Khrouthongkhieo; Bunpod Pijitkamnerd; Titiya NetwongThe ceiling of the teaching hall at Wat Chi Pakhao, Bang Plama, Suphanburi Province is illustrated with paintings related to different methods of divination. These same methods appear in Phrommachat, a genre of popular manuals for foretelling the future and guiding important decisions in life. Nothing is known about the origins, dating, and authorship of the paintings, which appear to be unique. They demonstrate the local beliefs and artistic skills of a local community in Suphanburi.Item การศึกษาติดตามและประเมินการนำผล งานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในโครงการการพัฒนาระบบการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนเฉพาะรายแบบไร้รอยต่อของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน(2023-06-02) พรเพ็ญ ไตรพงษ์; ยุทธพงษ์ ลีลากิจไพศาล; อัมพร ศรีประเสริฐสุขItem การปลูกฝังพฤติกรรมในการแยกขยะในเด็ก(2023-06-22) ชูติวรรณ บุญอาชาทอง; สายสุดา ปั้นตระกูล; ภูริพจน์ แก้วย่องบทความนี้เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบกิจกรรมการปลูกฝังพฤติกรรมการคัดแยกขยะให้แก่คนในวัยเด็ก ในประเทศไทย จำนวน 12 แห่่ง รวมทั้ง วิธีการสร้างความรู้ เจตคติจนนำไปสู่พฤติกรรมที่ดี เกี่ยวกับการจัดการขยะการคัดแยกขยะแก่เด็ก และการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชน จึงเป็นการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งแวดล้อมของเด็กการสร้างความรู้เรื่องการคัดแยกขยะสำหรับเด็กทำได้หลายวิธี เช่น การสร้างนิทาน การเขียนการ์ตูน การแทรกใน บทเรียน หรือ การสร้้างเกม การสร้้างจิตสํานึกในการจัดการขยะควรเริ่มปลููกฝังตังแต่วัยเด็ก เด็กควรได้รับการปลููกฝังจิตสํานึกที่ดีในการจัดการขยะให้เกิดขึ้น เพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้้เป็นไปอย่่างถาวร อันจะส่่งผลต่อการแก้ปัญหาขยะได้อย่าง ยั่งยืนItem บรรณารักษ์ในยุคปัญญาประดิษฐ์(2023-08-30) บรรพต พิจิตรกำเนิดบทความนี้ต้องการนำเสนอมุมมองการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เข้ามาเกี่ยวข้องกับห้องสมุด ด้วยความสามารถที่หลากหลายของปัญญาประดิษฐ์ทำให้การทำงานต่าง ๆ รวมถึงการให้บริการของห้องสมุด อาทิ การบริหาร การจัดหาสารสนเทศ การทำดัชนีเนื้อหา การทำรายการ และการค้นหาข้อมูลด้วยเสียง โดยประสิทธิภาพของบริการเหล่านี้จะสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว ปัญญาประดิษฐ์เป็นเทคโนโลยีใหม่ในแวดวงห้องสมุด ดังนั้นบรรณารักษ์จำเป็นต้องปรับตัวและพัฒนาศักยภาพตนเองให้พร้อมที่จะงานในยุคปัญญาประดิษฐ์Item Creative Products Based on Local Wisdom Derived from Mural Paintings of Suphan Buri Province, Thailand(2023-11-02) Titiya Netwong; Nuaon Khrouthongkhieo; Bunpod PijitkamnerdMural painting is a branch of fine art that reflects the excellent culture of Thailand and the devel-opment of creative products based on local resources to add value to the community. Promoting community-based tourism is implementing knowledge and findings from the study of mural paintings to be developed into creative products to create value-added local wisdom knowledge. The objectives of this research were to 1) design creative products based on local wisdom derived from mural paintings and 2) organise training and a workshop to pass on the knowledge of creat-ing creative products based on the wisdom of the mural paintings of Suphan Buri Province, Thai-land. The sample group consisted of 1) 75 people members of the community who set up murals in Suphan Buri Province, 2) five experts for evaluated product prototypes, 3) 400 tourists to sat-isfaction products, and 4) 22 participants for knowledge transfer. The research tools consisted of 1) The wisdom-based creative product prototype assessment form, 2. The wisdom-based creative product satisfaction questionnaire, and 3) The knowledge transfer project satisfaction assessment form. The data were analysed using mean, standard deviation, and content analysis. The research results were as follows: 1. The creative products of paper stencils framed from Wat Pratoosan and Wat No Bhuddhangkun had an overall satisfaction at a high level. The overall satisfaction was high for creative products using the 12 zodiac signs from Wat Chi Pa Khao to design and print on T-shirts. 2. The overall satisfaction in the knowledge transfer activities was at the highest level.Item ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชา คุณค่าของความสุข(2023-11-27) จิรัฐ ชวนชม; บุญญลักษม์ ตำนานจิตร; วรัตต์ อินทสระบทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชา คุณค่าของความสุข และ เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชา คุณค่าของความสุขให้ดีขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชา คุณค่าของความสุข มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จำนวน 222 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม จำนวน 4 ด้าน ประกอบไปด้วย ด้านวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ด้านคุณลักษณะของผู้สอน ผลการศึกษา พบว่า ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปรายวิชาคุณค่าของความสุขในภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณาเป็นรายด้าน ด้านคุณลักษณะของผู้สอน เป็นอันดับแรก อันดับรองมา คือด้านวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน มาอันดับสุดท้าย โดยทั้งสี่ด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน สำหรับแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ควรมีการนำผู้เรียนไปทัศนศึกษาหอศิลป์ที่ต่าง ๆ หรืองานแสดง เพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพิ่มขึ้น การวางโครงสร้างการทำงานกลุ่มและการสลับหมุนเวียนกันทุกครั้ง ต้องมีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลการรู้ข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับผู้เรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้มีความเข้าใจผู้เรียนมากขึ้นItem การประเมินความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการวางแผนทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต(2023-11-30) ปริศนา มัฌชิมา; บรรพต พิจิตรกำเนิด; สุดารัตน์ เจตน์ปัญจภัค; วรัตต์ อินทสระ; สายสุดา ปั้นตระกูลบทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการวางแผนทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตและ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการวางแผนทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จํานวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า1) ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการวางแผนทางการเรียน (SDU 4S) ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเนื้อหา รายข้อเนื้อหาความเหมาะสมของเนื้อหามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการติดตั้งใช้งานและการล็อกอินเข้าใช้ระบบ รายข้อการติดตั้งแอปพลิเคชันด้านรูปแบบการนําเสนอมีข้อความน่าสนใจและด้านการจัดการแอปพลิเคชัน 2) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของการใช้แอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการวางแผนทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พบว่า ผู้เรียนที่มีอายุแตกต่างกันมีการประเมินความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Item The Worries about Communication before having the Internship of the Fourth Year Students of Suan Dusit University(2023-12-15) Sirima Chiengchaovai; Saisuda PantrakoolThe objective of this research were to study the worries about internship of the 4th year students in semester 2/2565 of Suan Dusit University; and to compare the worries divide by faculty, moreover, they will have work experience in semester 2/2565. 255 sampled group was the 4th year students from every faculty and school. The instrument for this research was a questionnaire. The statistics for the data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and One Way ANOVA. The research results showed that the sampling group was worry about the internship at high level (x̄ = 3.66). When studying each aspect, it was found that: aspect 1: The worries about applying for the internship 1.1) Preparing the document for applying to the internship was at the high level (x̄ = 4.30), 1.2) Writing the document for applying to the internship was at the high level (x̄ = 4.17), and 1.3) Speaking for applying to the internship was at the high level (x̄ = 4.09). While Aspect 2: The worries about communication in the internship situation 2.1) Solving facing problem in working situation was at the high level (x̄ = 4.19), 2.2) Communication with people in working place was at the high level (x̄ = 4.12), and 2.3) Demeanor in working place was at high level (x̄ = 4.05). Comparison of the worries divided by faculty showed that students from different faculties worry about internships which were different with a statistical significance level of 0.05.Item IoT Smart Innovation Bin for Promote Learning Garbage Segregation(2023-12-19) Chutiwan Boonarchatong; Thinnagorn Chunhapataragul; Saisuda Pantrakool; Phuripoj Kaewyong; Kanitta Wongma; Kongsak BoonarchatongThe aims of this research were to develop smart innovative trash bins to be used as learning media for garbage segregation and to assessment the learning outcomes after playing the game with smart innovative trash bins. The sample group consisted of 400 grade 4, 5, and 6 students. A set of smart innovative trash bin contains four trash bins classified by type: 1) biodegradable garbage (green bin), 2) hazardous garbage (red bin), 3) general garbage (blue bin), and 4) recycle garbage (yellow bin). The bin embedded the program code in the Arduino board. Twelve garbage items, four types, had RFID tags. When users bring garbage into the correct type of garbage bin, the trash bin lid will open and close by itself. On the other hand, if the garbage is placed in the wrong garbage bin, the lid will not open. The result shown the sample group’s learning outcome of garbage segregation increased by with 3.52 scores or 17.6%. In summary, smart innovative trash bins able to promote learning outcomes of garbage segregation.Item ปัจจัยด้านองค์การและปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อผลิตภาพของพนักงานที่ทำงานที่บ้าน ในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19: กรณีศึกษาบริษัทผู้ผลิตและให้บริการผลิตภัณฑ์เหล็กกล้าแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ(2023-12-31) ชูเกียรติ จากใจชน; จิราภรณ์ โภชกปริภัณฑ์; สุวัลลี สัตยาอภิธาน; รุ่งฤดี กล้าหาญ; ศุภมิตร บัวเสนาะบทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยด้านองค์การ ปัจจัยส่วนบุคคลและผลิตภาพของพนักงานที่ทำงานที่บ้านในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านองค์การ ปัจจัยส่วนบุคคล กับผลิตภาพของพนักงานที่ทำงานที่บ้านในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุของผลิตภาพของพนักงานที่ทำงานที่บ้านในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 โดยใช้ปัจจัยด้านองค์การ และปัจจัยส่วนบุคคล ร่วมกันเป็นตัวแปรพยากรณ์ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 214 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยด้านองค์การ ปัจจัยส่วนบุคคล และผลิตภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยด้านองค์การ ปัจจัยส่วนบุคคล และผลิตภาพของพนักงานที่ทำงานที่บ้านในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 อยู่ในระดับปานกลางถึงมาก 2. ปัจจัยด้านองค์การ ได้แก่ การสนับสนุนจากองค์การ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา สัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงาน และการสนับสนุนด้านอุปกรณ์ดิจิทัลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลิตภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.497, .475, .617 และ .586 ตามลำดับ) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ความสามารถทางด้านดิจิทัล สุขภาพจิต ความเครียดในงาน และความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลิตภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.599, .647, .506 และ .705 ตามลำดับ) และ 3. ความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว และความสามารถทางด้านดิจิทัล ร่วมกันพยากรณ์ผลิตภาพได้ โดยมีประสิทธิภาพของการพยากรณ์ 80.2%Item ความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของผู้เรียนด้านการออกแบบสารสนเทศ เพื่อสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล(2024-01-05) สายสุดา ปั้นตระกูล; บุญญลักษม์ ตำนานจิตร; บรรพต พิจิตรกำเนิด; สิริมา เชียงเชาว์ไว; กฤษณพร ประสิทธิ์วิเศษการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของผู้เรียนด้านการออกแบบสารสนเทศ เพื่อสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล กลุ่มตัวอย่าง 268 คน จาก 4 กลุ่ม คือ 1) ผู้ประกอบการ/ ผู้ใช้งานบัณฑิต ) ศิษย์เก่า (สาขานิเทศศาสตร์ ภาษาไทยและบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) 3) นักเรียนที่สนใจ ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศ และ 4) ผู้สนใจพัฒนาตนเองด้านการออกแบบสารสนเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของผู้เรียนด้านการออกแบบสารสนเทศเพื่อสร้างสรรค์สื่อ ดิจิทัลในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า 1) ผู้เรียนควรมีคุณลักษณะด้านความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ กระตือรือร้นสนใจใฝ่รู้ข่าวสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ 2) ความสามารถในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและการทำงานเป็นทีม และ 3) มีความสามารถในการสร้างสรรค์ข้อมูลสารสนเทศและสื่อดิจิทัลที่แปลกใหม่โดยใช้ภาษาและวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมกับสถานการณ์Item การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันระบบจัดการธนาคารขยะในสังคมปกติวิถีใหม่(2024-01-29) ภูริพจน์ แก้วย่อง; ชูติวรรณ บุญอาชาทอง; แทนทัศน์ เพียงขุนทด; สายสุดา ปั้นตระกูล; ทิพย์วรรณ บุณยาภรณ์การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมต้นแบบบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนขยะในธนาคารขยะในสังคมปกติวิถีใหม่และเพื่อประเมินประสิทธิภาพโปรแกรมต้นแบบบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนขยะในธนาคารขยะในสังคมปกติวิถีใหม่ การดําเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ 1)การวางแผนระบบ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ และ 2)การปรับใช้ระบบและการประเมินและบํารุงรักษา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ผู้บริหารโครงการธนาคารขยะ ผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนสวนอ้อยและมหาวิทยาลัยสวนดุสิตและสมาชิกของธนาคารขยะ จํานวน 241 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและแบบประเมินประสิทธิภาพระบบสนับสนุนการบริหารธนาคารขยะอัตโนมัติในสังคมปกติวิถีใหม่สถิติที่ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า การวิเคราะห์ขั้นตอนการดําเนินงานโครงการธนาคารขยะ การออกแบบระบบให้สามารถรองรับกิจกรรมต่างๆ การพัฒนาระบบ ประกอบด้วย 6 โมดูล ได้แก่ การออกแบบระบบประกอบด้วยการให้ความรู้การคัดแยกขยะการชั่งน้ําหนักการคิดราคาการสะสมยอดขยะและการแลกรางวัลการประเมินประสิทธิภาพโปรแกรมต้นแบบบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนขยะในธนาคารขยะในสังคมปกติวิถีใหม่ พบว่าประสิทธิภาพของโปรแกรมต้นแบบโดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความง่ายของการใช้งานโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยสูงสุดรองลงมาคือ ด้านความน่าเชื่อถือของการประมวลผลของระบบ ด้านความตรงต่อความต้องการของผู้ใช้และด้านประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัยของระบบตามลําดับItem Paradigm Shift of Native Koreans Towards Overseas Koreans(2024-02-27) Suttasinee Kespratoom; Teeradet Chuenpraphanusorn; Kamonkanok Kamonkanok; Thanasorn Wisutwarin; Pornpit NgampongThe article discusses the concept of gyopo, which refers to individuals of Korean heritage born or raised outside of South Korea. These gyopos often grapple with questions of cultural identity, language proficiency, and belonging. The perspective of native Koreas towards overseas Koreans varies, with many South Koreans showing curiosity, appreciation for their contributions to diversity, and recognition of their language skills and international experiences. Job opportunities for overseas Koreans in South Korea are abundant, facilitated by visas, language proficiency, and a global perspective that can be applied in various industries. Korean universities are also actively engaging with overseas Koreans, recognizing their value in creating diverse and dynamic learning environments. The South Korean government supports initiatives aimed at attracting overseas talent and helping them settle in the country. Overall, the article aims to explore the origin of gyopo, the perspectives of native Koreans towards overseas Koreans, adaptation of overseas Koreans, and the job opportunities available to overseas Koreans in South Korea.
- «
- 1 (current)
- 2
- 3
- »