SLP-Article
Permanent URI for this collection
Browse
Browsing SLP-Article by Author "ณัฏฐ์พัชร เถียรวรกานต์"
Now showing 1 - 2 of 2
Results Per Page
Sort Options
Item การพัฒนาชุมชนสขุภาวะและการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทุกชว่งวัยตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลโคกโคเฒ่า อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี(วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2024-04-29) ดังนภสร ณ ป้อมเพชร; สมศักดิ์ เจริญพูล; จันทรกานต์ ทรงเดช; ณัฏฐ์พัชร เถียรวรกานต์; สุชาดา โทผลการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการณ์ความต้องการและศักยภาพชุมชน รวมทั้งรูปแบบชุมชนสุขภาวะ และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทุกช่วงวัยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จัดทำคู่มือชุมชน สร้างแกนนำกิจกรรมชุมชน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามจำนวน 400 ชุด สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง 20 คน และสัมมนากลุ่มย่อย 2 ครั้ง ข้อมูลเชงิปริมาณที่ได้นำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพ นำมาวิเคราะห์ตามกรอบของ CIPP model ก่อนทำการอบรมแกนนำตามคู่มือที่คณะผู้วิจัยพัฒนาขึน้ ผลการศึกษา พบว่า สภาพการณ์ด้านสุขภาวะมีค่าที่ร้อยละ 84.95-97.96 ด้านการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีค่าร้อยละ 72.96-83.67 ส่วนสภาพการณ์ด้านชุมชนและด้านความต้องการของประชาชนเพื่อการพัฒนาเป็นชุมชนสุขภาวะ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ด้านรูปแบบชุมชนสุขภาวะประกอบด้วยกิจกรรม 4 ประเภท ได้แก่ 1) การนำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน 2) การดูแลสุขภาพกายด้วยตนเอง 3) การออกกำลังกาย และ 4) อาหารสุขภาพ โดยกิจกรรมดังกล่าวต้องมีลักษณะกิจกรรมดังนี้ 1) กิจกรรมมีลักษณะที่ประชาชนสามารถทำด้วยตนเองได้ 2) กิจกรรมที่ทำต้องใช้เวลาน้อย ไม่เป็นอุปสรรคในการประกอบอาชีพ และ 3) กิจกรรมที่ทำหากต้องมีอุปกรณ์ หรือวัตถุดิบประกอบต้องสามารถหาได้ง่ายจากชุมชน และผู้วิจัยได้ทำการอบรมแกนนำประประชาชนที่สนใจกว่า 60 คนผ่านคู่มือ ที่พัฒนาขนึ้เพื่อส่งเสริมการสรา้งผลิตภัณฑ์ 3 ได้แก่ 1) ลูกประคบสมุนไพรสด 2) น้ำพริกอบสมุนไพร และ 3) คัฟเค็กกล้วยน้ำว้าItem รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุบนพื้นฐานศักยภาพของชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี(หจก. ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์, 2021-05-25) สุชาดา โทผล; สมศักดิ์ เจริญพูล; ณัฏฐ์พัชร เถียรวรกานต์; เอกอนงค์ ศรีสำอางค์; จันทรกานต์ ทรงเดช; ณัฐธิดา กิจเนตร; เมฐินีย์ นุ้ยสุด; สุทัศน์ ด่านตระกูลThis research aims to investigate conditions and needs for health promotion of the elderly in the community and to investigate activity models for the wellbeing promotion of the elderly based on the community’s capacity. The quantitative data were collected by questionnaire from 340 elderly people, and the data were analyzed with descriptive statistics. Qualitative data were obtained from seminars for small groups of stakeholders three times, totaling 45 people, and the data were analyzed with content analysis. Research results are as follows:1. The condition and demand for promoting the well-being of the elderly were at the highest level in all issues, including education for promoting aging well-being. They were allowing communities to organize activities with leaders, groups, and networks to promote aging.2. Community potential in supporting activities to promote the wellbeing of the elderly found that the elderly agreed that it was necessary at a high level, which was community leaders, human resources, community communication, and participation in health promotion activities.3. The study of the elderly health promotion model based on community potential found that it consisted of 1) activities with characteristics that the elderly could do independently. 2) The activities are diverse, not boring, fun, consisting of knowledge, practice, and recreation. 3) Doing activities take less time, and 4) Do activities where equipment and materials are required to be easily obtained from the community.