SCA-Article
Permanent URI for this collection
Browse
Browsing SCA-Article by Author "Boonyaporn Chuamsompong"
Now showing 1 - 2 of 2
Results Per Page
Sort Options
Item DECODING THE BODY OF KNOWLEDGE IN FOOD CULTURAL IDENTITY IN UNESCO WORLD HERITAGE FOR LOCAL CURRICULUM DEVELOPMENT TO SUPPORT GASTRONOMY TOURISM(Journal of Positive School Psychology, 2022) Dr.Pannee Suanpang; Dr.Anong Jainan; Sureeporn Thanyakit; Boonyaporn Chuamsompong; Dr.Chanathat BoonrattanakittibhumiGastronomy tourism is becoming significant in the post Covid 19 because of trends of tourist interesting on food and cultural in old city. Therefore, several countries propose the new tourism experience of gastronomy tourism which integrated cultural and food in the world heritage site. Especially this paper propose the contribution of the decoding the body of knowledge in cultural identity and develop local curriculum for support gastronomy tourism in UNESCO world heritage case study Ayutthaya, Thailand. Undoubtedly, Ayutthaya was a city with multilevel as well as multiform relationships, and a number of trading areas. It has also been a city of food culture since the time of the foundation of water, the golden land, and cultural inheritance until the present time. This article aimed to (1) develop the key indicators for Thai food culture, (2) decode food set wisdom of Ayutthaya, the harbor city of the East, and (3) provide the guidelines on applying the body of knowledge for local curriculum development in Ayutthaya. Integrated methods between quality and quantitative research were used. There were (1) the results of the development of the key indicators for food identity, (2) the results of decoding food set and (3) the results to provide the guidelines on applying the body of knowledge in food identity for local curriculum development to support tourism.Item การใช้ประโยชน์ข้าวไรซ์เบอรี่ในผลิตภัณฑ์ขนมเปี๊ยะกุหลาบไส้ถั่วเสริมเยื่อฟักข้าว(วารสารวัฒนธรรมอาหารไทย ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (2022): July - December 2022, 2022-12-30) พรทวี ธนสัมบัณณ์; Boonyaporn Chuamsompong; Monruthai Srithongkerd; Natcha Phuntuwong; Onanong Thongmeeการวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมเปี๊ยะกุหลาบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ และเป็นการเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบท้องถิ่น พบว่า ขนมเปี๊ยะกุหลาบที่มีการยอมรับสูงสุด มีส่วนผสมของแป้งสาลีอเนกประสงค์ แป้งสาลีบัวแดง น้ำตาลทรายขาว น้ำเปล่า น้ำมันพืช และเกลือ (95, 190, 60, 110, 75 และ 3 กรัม ตามลำดับ) มีค่าคะแนนเฉลี่ยในด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ ความนุ่ม และความชอบโดยรวม เท่ากับ 7.63±0.92, 7.80±0.80, 7.55±0.93, 7.63±0.89, 7.83±0.91 และ 7.87±0.86 คะแนน ตามลำดับ จากนั้นทดแทนแป้งข้าวไรซ์เบอรี่ในปริมาณที่แตกต่างกัน 4 ระดับ คือ ร้อยละ 15, 30, 45 และ 60 พบว่าที่ร้อยละ 45 ได้รับการยอมรับสูงสุด มีค่าคะแนนเฉลี่ยในด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ ความนุ่ม และความชอบโดยรวม เท่ากับ 7.34±0.93, 7.50±0.88, 7.52±0.93, 7.50±0.99, 7.50±0.78 และ7.72±0.88 คะแนน ตามลำดับ และศึกษาไส้ถั่วกวน พบว่า ไส้ถั่วกวนตำรับที่ได้รับการยอมรับสูงสุด มีส่วนผสม ได้แก่ ถั่วเขียวเลาะเปลือก กะทิ น้ำตาลทรายขาว และ เกลือ (375, 500, 350 และ 5 กรัม ตามลำดับ) โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยความเป็นเนื้อเดียวกัน สี กลิ่น รสชาติ ความนุ่ม และความชอบโดยรวม เท่ากับ 7.56±0.92, 7.60±0.78, 7.66±0.89, 7.74±0.94, 7.70±0.83 และ 7.70±0.68 คะแนน ตามลำดับ จากนั้นเสริมเยื่อฟักข้าว พบว่า การเสริมฟักข้าวที่ร้อยละ 15 ได้รับการยอมรับสูงสุด มีค่าคะแนนความชอบโดยรวมเท่ากับ 7.86±0.80 คะแนน