การขับเคลื่อนองค์กรด้วย “เครือข่ายผู้มีอิทธิพล”

dc.contributor.authorสุขุม เฉลยทรัพย์
dc.date.accessioned2025-03-23T13:34:03Z
dc.date.available2025-03-23T13:34:03Z
dc.date.issued2023-08-10
dc.description.abstractจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 74 ฉบับที่ 25132 วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2566 กล่าวว่า การขับเคลื่อนองค์กรในยุคที่มีการเชื่อมต่อแบบไฮเปอร์ (Hyperconnected) ต้องอาศัยเครือข่ายทั้งทางการและไม่เป็นทางการ โดยเฉพาะ “เครือข่ายอิทธิพลที่ไม่เป็นทางการ” ซึ่งเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลโดยธรรมชาติ ไม่ได้อยู่ในผังองค์กร แต่สามารถมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นจริง ร็อบ ครอส ชี้ให้เห็นผ่านการใช้ ONA (Organizational Network Analysis) ว่าบุคลากรที่ทำหน้าที่เป็นเครือข่ายภายในองค์กร เช่น ตัวเชื่อมกลาง (Central Connectors), นายหน้า (Brokers), และผู้กระตุ้น (Energizers) มีบทบาทสำคัญต่อการผลักดันนวัตกรรม การยอมรับการเปลี่ยนแปลง และการสร้างความร่วมมือ การประเมินเครือข่ายก่อนเริ่มโครงการหรือปรับกลยุทธ์สามารถช่วยให้องค์กรเข้าใจผู้มีอิทธิพลที่แท้จริงในองค์กรและนำมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดประโยชน์เชิงสร้างสรรค์ เช่น ลดความไม่พึงพอใจลูกค้า ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ และเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ดังนั้นผู้นำควรตระหนักและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายเหล่านี้ให้มากขึ้น
dc.identifier.urihttps://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5466
dc.language.isoth
dc.publisherสยามรัฐ
dc.subjectเครือข่ายอิทธิพล
dc.subjectHyperconnected
dc.subjectOrganizational Network Analysis (ONA)
dc.subjectตัวเชื่อมกลาง
dc.subjectนายหน้า
dc.subjectผู้กระตุ้น
dc.subjectความสัมพันธ์
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงองค์กร
dc.subjectผู้นำ
dc.subjectการวิเคราะห์เครือข่าย
dc.subjectสวนดุสิตโพล
dc.subjectมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
dc.titleการขับเคลื่อนองค์กรด้วย “เครือข่ายผู้มีอิทธิพล”
dc.typeArticle
mods.location.urlhttps://repository.dusit.ac.th/handle/123456789/401
Files
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Default Image
Name:
license.txt
Size:
371 B
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: