เขาทำอะไรในช่องเล็ก ๆ' 'เขาโบกไม้โบกมือทำไม' 'ท่าทางเหล่านั้นคืออะไร'
dc.contributor.author | ธัญพร ปองทอง | |
dc.date.accessioned | 2025-03-22T09:28:16Z | |
dc.date.available | 2025-03-22T09:28:16Z | |
dc.date.issued | 2022-02-22 | |
dc.description.abstract | จากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 71 ฉบับที่ 24750 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เนื้อหาหลักกล่าวถึง"ล่ามภาษามือ" คือผู้แปลคำพูดเป็นภาษามือ เพื่อสื่อสารกับผู้มีความบกพร่องทางการได้ยิน ผ่านท่าทาง สีหน้า และตำแหน่งมือ โดยมักปรากฏในช่องเล็ก ๆ บนหน้าจอโทรทัศน์ โดยเฉพาะรายการข่าว ภาษามือมีลักษณะเฉพาะ เช่น ท่ามือ ตำแหน่งมือ ทิศทาง การเคลื่อนไหว และการแสดงสีหน้า ที่สื่อถึงอารมณ์และความหมายในประโยค ซึ่งต่างจากโครงสร้างของภาษาไทย เช่น ประโยค “แมวกินปลา” จะเรียงเป็น “ปลา แมว กิน” ในภาษามือ ล่ามภาษามือต้องมีความเชี่ยวชาญทั้งภาษาไทยและภาษามือไทย (TSL) ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้เป็นภาษาประจำชาติของคนหูหนวกตั้งแต่ปี 2542 การจะเป็นล่ามภาษามือต้องผ่านการเรียนหลักสูตรเฉพาะ เช่น หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และต้องได้รับการรับรองจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) รวมถึงผ่านการอบรมล่ามในกิจการโทรทัศน์โดยสำนักงาน กสทช. ถือเป็นอาชีพที่เงียบสำหรับคนทั่วไป แต่มีความหมายยิ่งใหญ่สำหรับคนหูหนวก | |
dc.identifier.uri | https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5332 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | สยามรัฐ | |
dc.subject | ล่ามภาษามือ | |
dc.subject | ภาษามือไทย | |
dc.subject | คนหูหนวก | |
dc.subject | ท่าทาง | |
dc.subject | สีหน้า | |
dc.subject | การแปล | |
dc.subject | การสื่อสาร | |
dc.subject | กรม พก. | |
dc.subject | กสทช. | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสวนดุสิต | |
dc.subject | สวนดุสิตโพล | |
dc.title | เขาทำอะไรในช่องเล็ก ๆ' 'เขาโบกไม้โบกมือทำไม' 'ท่าทางเหล่านั้นคืออะไร' | |
dc.type | Article | |
mods.location.url | https://repository.dusit.ac.th/handle/123456789/322 |
Files
License bundle
1 - 1 of 1

- Name:
- license.txt
- Size:
- 371 B
- Format:
- Item-specific license agreed to upon submission
- Description: