Faculty of Humanities and Social Sciences
Permanent URI for this community
Browse
Browsing Faculty of Humanities and Social Sciences by Issue Date
Now showing 1 - 20 of 97
Results Per Page
Sort Options
Item กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเลื่อนเงินเดือน ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(2020-03-01) เพ็ญนภา ดุษฎีกาญจน์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนธันวาคม 2564(2021-01-06) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item The Effects of Online Learning Management Towards English Grammar Achievement of Business English Students(2021-02-15) กนกวรรณ กุลสุทธิ์; สุดารัตน์ เจตน์ปัญจภัค; ขจีนุช เชาวนปรีชา; สรพล จิระสวัสดิ์; วิลาสินี พลอยเลื่อมแสง; ลลิตา พูลทรัพย์; จุฬาลักษณ์ ปาณะศรีThis research study aimed to compare Business English students' achievement in English grammar before and after obtaining online learning management, and to explore their perceptions towards the development of English grammar knowledge. Quantitative and qualitative research were used. The subjects were 43 Business English senior students in Academic Year 2017 who did the tests and responded to the questionnaires and 5 students were purposively selected to have a group interview. Research instruments were the pretest-posttest, questionnaire and interview schedule. The content validity index of every question in the questionnaire was 1.00. Quantitative data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and dependent sample t-test. Major findings revealed that Business English students' achievement in English grammar improved after online self-study at the statistical significance level of .05. The students showed an agreement with the development of English grammar knowledge through online self-study. The first aspect showing a strong agreement indicated that students learned the content from online grammar exercises as much as they could. Findings from the interview revealed three aspects: being convenient for online self-study through Application, development of grammatical competence and an ability to apply their knowledge to take the TOEIC test.Item สารสังคมมนุษย์ เดือนมีนาคม 2564(2021-04-29) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนเมษายน 2564(2021-05-12) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนพฤษภาคม 2564(2021-06-08) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item ผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ สำหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน(2021-07-01) บรรพต พิจิตรกำเนิดการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแนวทางการเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ส าหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยินและ 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในการทางการเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ของนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยินโดยได้ท าการศึกษาจากนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 5 คนที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโปรแกรมประยุกต์ส าหรับงานห้องสมุดและสารสนเทศ โดยเครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์, สื่อการเรียนรู้ออนไลน์, แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า แนวทางในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ประกอบไปด้วย 3 ระยะ ได้แก่ 1) ก่อนเรียน การเตรียมความพร้อมในเรื่องของแผนการจัดการเรียนการสอน อุปกรณ์เครื่องมือ และล่ามภาษามือ 2) ระหว่างเรียน การติดตาม พูดคุยซักถาม และบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ 3) หลังเรียน การทวนสอบผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นระยะ นอกจากนี้การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ต้องค านึงถึงความเหมาะสมกับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยินด้วย ส าหรับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา พบว่า หลังจากนักศึกษาได้รับการเรียนการสอนออนไลน์โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์แล้ว มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้นItem สารสังคมมนุษย์ เดือนมิถุนายน 2564(2021-07-13) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนกรกฏาคม 2564(2021-08-05) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนกันยายน 2564(2021-09-11) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item ห้องเรียนออนไลน์สำหรับผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเรียนรวม ในรายวิชาปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์เป็นฐาน(2021-09-11) บรรพต พิจิตรกำเนิดบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางในการจัดห้องเรียนออนไลน์สำหรับผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเรียนรวมในรายวิชาปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์เป็นฐาน องค์ประกอบสำคัญประกอบด้วย 1) การวางแผนและการจัดการ 2) การออกแบบสื่อการสอนในห้องเรียนออนไลน์ที่เป็นธรรมสำหรับทุกคน (Universal Design) 3) กิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ และ 4) ช่องทางการติดต่อสื่อสาร โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน 4 ขั้นตอนคือ 1) การวางแผนการสอนและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน 2) การจัดการเรียนการสอนและใช้สื่อที่เป็นธรรมสำหรับทุกคน 3) ปฏิบัติการจากประสบการณ์ตรงสร้างทักษะปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ 4) การให้คำแนะนำและสะท้อนกลับ แนวทางการดังกล่าวสร้างโอกาสทางการศึกษาเพื่อคนทั้งปวงในการขับเคลื่อนการเรียนรวมในยุคดิจิทัล ได้เรียนรู้และรับประสบการณ์ที่มากกว่าเนื้อหารายวิชา แต่ยังคงเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคลItem สารสังคมมนุษย์ เดือนสิงหาคม 2564(2021-09-13) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนตุลาคม 2564(2021-11-08) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนพฤศจิกายน 2564(2021-12-07) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนมกราคม 2565(2022-02-07) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนกุมภาพันธ์ 2565(2022-03-10) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนมีนาคม 2565(2022-04-08) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนเมษายน 2565(2022-05-09) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนพฤษภาคม 2565(2022-06-10) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Item สารสังคมมนุษย์ เดือนมิถุนายน 2565(2022-07-08) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์