THM-Article
Permanent URI for this collection
Browse
Browsing THM-Article by Author "ถิรพร แสงพิรุณ"
Now showing 1 - 1 of 1
Results Per Page
Sort Options
Item การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้วย "ข้าวไร่กะเหรี่ยง" อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี(วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า), 2023-10-20) รุ่งนภา เลิศพัชรพงศ์; ถิรพร แสงพิรุณ; นพเวช บุญมี; วรเวชช์ อ่อนน้อม; ภัทร์อาภรณ์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์; นภาพร จันทร์ฉายบทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทและวัฒนธรรมข้าวไร่กะเหรี่ยง 2) เพื่อพัฒนากิจกรรม Abstract This research is concerned with three main objectives as 1) to study the content and the culture of Ka-Reang Rice, 2) to develop the tourism activities by creating the participatory approach and 3) to develop a sustainable tourism model by using Ka-Reang Rice and use the study method as conceptual documents and Grounded Theory and collect the data by Participant Observation, In-depth Interview, Participation Action Meeting, and Focus Group with associated network partners to verify the information by using Trianglulation Technique and Content Analysis Method and presented by Descriptive Approach. The research result indicated that Ka-Reang people from Ta Pheng Ki Village have the way of life, belief and rituals about “Rice” a symbol of abundance of livelihood to create and participate to the wisdom process of rice cultivation which is Ka-Reang culture to cultivate rice with non-chemical and safe. For the important rituals about rice is called as “Kwan Khow” New Marit Making and attend worship at Chulamanee Relics, etc. These two cultures will encourage the tourism to participate according to the 12 months Farm Rice calendar. This strategy can help to develop a sustainable tourism by using these three elements as 1) the participation and job distribution to Ka-Reang people for their responsible, 2) Tourism Management such as accommodation, food, tourism activities and transportation including welcoming reception and selling souvenir products and, 3) Traditional rice conservation. การท่องเที่ยวโดยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม และ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้วย ข้าวไร่กะเหรี่ยง ใช้วิธีการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ร่วมด้วยการใช้ทฤษฎีเชิงพื้นที่ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมและการสนทนากลุ่มกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าและการวิเคราะห์เนื้อหา นำเสนอโดยการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ชาวกะเหรี่ยงแห่งหมู่บ้านตะเพินคี่ มีวิถีชีวิตความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับ “ข้าว" สัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ในการทำมาหากิน นำมาสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมด้วยภูมิปัญญาการปลูกข้าวเป็นวัฒนธรรมมข้าวไร่กะเหรี่ยงที่ปลอดภัยปราศจากสารเคมี สำหรับพิธีกรรมที่สำคัญ ได้แก่ การเรียกขวัญข้าว ทำบุญข้าวใหม่ ไหว้พระธาตุจุฬามณี เป็นต้น นำไปสู่การท่องเที่ยวตามปฏิทินกิจกรรมข้าวไร่ 12 เดือน จึงเป็นรูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้วยข้าวไร่กะเหรี่ยง ประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมและกระจายงานแบ่งความรับผิดชอบของชาวกะเหรี่ยง 2) การบริหารจัดการท่องเที่ยว ด้าน ที่พัก ด้านอาหาร ด้านกิจกรรมท่องเที่ยว ด้านการคมนาคมขนส่งรวมถึงการต้อนรับและจำหน่ายสินค้าของที่ระลึก และ 3) การอนุรักษ์ข้าวแบบดั้งเดิม