การประยุกต์ใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา ในการควบคุมเด็กและเยาวชนที่กระทาผิดในคดียาเสพติด
dc.contributor.author | ธนภัทร ปัจฉิมม์ | |
dc.date.accessioned | 2025-02-13T04:38:49Z | |
dc.date.available | 2025-02-13T04:38:49Z | |
dc.date.issued | 2023-08 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ตลอดจนเสนอรูปแบบ และวิธีการประยุกต์ใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา รวมถึงเสนอแก้ไขหรือปรับปรุงกฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้องและวิธีปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในการอานวยความยุติธรรมเด็กและเยาวชน ที่กระทาความผิดในคดียาเสพติด กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ประกอบด้วย สหวิชาชีพ ได้แก่ นักจิตวิทยา นักสังคมสังเคราะห์ นอกจากนั้นยังมีผู้แทนชุมชน พนักงานสอบสวน อัยการ ผู้พิพากษาสมทบ เป็นต้น ผลการวิจัยพบว่า การประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชน ได้ดาเนินการในรูปแบบที่เป็นคณะกรรมการ โดยการประชุมร่วมกันเพื่อปรึกษาหารือในการแสวงหาแนวทางในการระงับข้อพิพาทตามแนวทางยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ซึ่งเป็นมาตรการทางเลือกที่ใช้ในกระบวนจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูในคดีที่พิจารณาแล้วเห็นว่าเด็กและเยาวชนสามารถกลับตัวเป็นคนดีได้โดยไม่ต้องฟ้องคดี เพื่อแก้ไขปรับเปลี่ยนความประพฤติของเด็กหรือเยาวชน การบรรเทาผลร้าย ทดแทนหรือชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ จะมุ่งเน้นการคุ้มครองประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชนเป็นสาคัญ สาหรับมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา นั้น เป็นการหันเหคดีเด็กและเยาวชนที่กระทาความผิดในชั้นก่อนฟ้องคดีและในชั้นการพิจารณาคดีตามกฎหมายว่าด้วยศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว | |
dc.identifier.citation | Journal of Politics and Governance | |
dc.identifier.uri | https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/3072 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Journal of Politics and Governance | |
dc.relation.ispartofseries | 13; 2 | |
dc.subject | มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา | |
dc.subject | การควบคุมเด็กและเยาวชน | |
dc.subject | คดียาเสพติด | |
dc.title | การประยุกต์ใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา ในการควบคุมเด็กและเยาวชนที่กระทาผิดในคดียาเสพติด | |
dc.type | Article |