Soft Power กับการศึกษาไทย

dc.contributor.authorพิทักษ์ จันทร์เจริญ
dc.contributor.authorปัทมา ลักษณะโยธิน
dc.date.accessioned2025-03-23T09:39:34Z
dc.date.available2025-03-23T09:39:34Z
dc.date.issued2023-10-03
dc.description.abstractจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 74 ฉบับที่ 251705 วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กล่าวว่า นายอรรถการ ตฤษณารังสี เน้นย้ำความสำคัญของ Soft Power ซึ่งเป็นแนวคิดที่ริเริ่มโดยศาสตราจารย์โจเซฟ ไนย์ โดยอาศัยพลังของวัฒนธรรม ค่านิยม และประเพณีเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและแรงดึงดูด เช่น อาหาร ภาพยนตร์ แฟชั่น กีฬา และศิลปะการป้องกันตัว โดยประเทศไทยมีต้นทุนทางสังคมในด้านนี้สูง เช่น ความมีไมตรีจิต และรอยยิ้มของคนไทย ที่ได้รับการส่งเสริมผ่านความร่วมมือกับ Michelin Guide เพื่อเผยแพร่อาหารไทยทั่วโลก การขับเคลื่อน Soft Power ควรเป็นระบบโดยการร่วมมือระหว่างประชาชน สังคม และรัฐบาล ทั้งนี้ภาคการศึกษา เช่น สถาบันการอาชีวศึกษา ภาคกลาง 5 ได้เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผ่านโครงการ “9 ดี” และอบรมครูผ่านผู้เชี่ยวชาญจาก 10 วิชาชีพ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรองรับ Soft Power ระดับประเทศ รวมถึงความร่วมมือระดับนานาชาติเพื่อยกระดับแรงงานไทยให้ได้มาตรฐานสากล โดยสิ่งสำคัญอันดับแรกคือการพัฒนา Mindset เชิงบวก เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืนและสร้างสรรค์
dc.identifier.urihttps://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5422
dc.language.isoth
dc.publisherสยามรัฐ
dc.subjectSoft Power
dc.subjectวัฒนธรรม
dc.subjectอาหารไทย
dc.subjectการท่องเที่ยว
dc.subjectMindset
dc.subjectความร่วมมือ
dc.subjectภาครัฐ-เอกชน
dc.subjectอาชีวศึกษา
dc.subjectทักษะ
dc.subjectแรงงานไทย
dc.subjectมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
dc.subjectสวนดุสิตโพล
dc.titleSoft Power กับการศึกษาไทย
dc.typeArticle
mods.location.urlhttps://repository.dusit.ac.th/handle/123456789/102
Files
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Default Image
Name:
license.txt
Size:
371 B
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: