Food Coma อาการง่วงหลังมื้ออาหาร
dc.contributor.author | บุษยมาส แก้วเจริญ | |
dc.contributor.author | ศูนย์ฝึกปฏิบัติการอาหารนานาชาติ | |
dc.contributor.author | โรงเรียนการเรือน | |
dc.date.accessioned | 2025-04-21T07:16:28Z | |
dc.date.available | 2025-04-21T07:16:28Z | |
dc.date.issued | 2025-04-19 | |
dc.description | Info ประชาสัมพันธ์ความรู้ FOOD COMA (อาการง่วงหลังมื้ออาหาร) อาการง่วงหลังมื้ออาหาร (Postprandial Somnolence) เกิดจากการไหลเวียนโลหิตและเมลาโทนินส่งผลให้สมองหลั่งสารเซโรโทนินและเมลาโทนิน ทำให้รู้สึกง่วงนอน อาจสาเหตุมาจาก การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ การทำงานหนักในช่วงกลางวัน การทานอาหารที่มีแป้ง น้ำตาล หรือไขมันมากเกินไป และการย่อยอาหารที่ใช้พลังงานสูง วิธีช่วยลดปัญหา ทำได้โดยขยับตัวหลังมื้ออาหาร ปรับพฤติกรรมการกิน เลือกกินให้เหมาะสม และพักสายตาหรือหลับงีบสั้นๆ | |
dc.identifier.uri | https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/6296 | |
dc.publisher | โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต | |
dc.subject | Food Coma | |
dc.subject | อาการง่วงหลังมื้ออาหาร | |
dc.subject | Postprandial Somnolence | |
dc.subject | การไหลเวียนโลหิต | |
dc.title | Food Coma อาการง่วงหลังมื้ออาหาร |