การสื่อสารองค์กรที่ดี...มี ‘โอกาสรอด’

dc.contributor.authorสุขุม เฉลยทรัพย์
dc.date.accessioned2025-03-24T00:04:15Z
dc.date.available2025-03-24T00:04:15Z
dc.date.issued2022-09-01
dc.description.abstractจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 73 ฉบับที่ 24887 วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 กล่าวว่า เมื่อองค์กรเผชิญวิกฤติ โดยเฉพาะปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน ผู้นำต้องมีความพร้อมในการนำพาองค์กรและบุคลากร ผ่านการสื่อสารที่เข้าใจความรู้สึกของคน ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ความวิตกกังวล ความไม่สบายใจ และความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การสื่อสารควรตรงประเด็น ชัดเจน จริงใจ และสม่ำเสมอ รวมถึงการสร้างวิสัยทัศน์ใหม่ให้กับองค์กร เพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่น เช่น การประชุมแบบเปิด การพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ หรือใช้ช่องทางดิจิทัลอย่างบล็อกและเวอร์ชวลเบรก ทั้งนี้ ผู้นำต้องใช้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับกลยุทธ์อย่างต่อเนื่อง กรณีศึกษาจากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ แสดงให้เห็นถึงการใช้ “การสื่อสารสองทาง” ผ่าน Open Meeting, StaffNet Blog และ Staff Survey เพื่อรับฟังความคิดเห็นบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความเข้าใจร่วมและการมีส่วนร่วม ส่งผลต่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง
dc.identifier.urihttps://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5487
dc.language.isoth
dc.publisherสยามรัฐ
dc.subjectภาวะวิกฤติ
dc.subjectผู้นำ
dc.subjectความรู้สึก
dc.subjectสื่อสารสองทาง
dc.subjectความเชื่อมั่น
dc.subjectOpen Meeting
dc.subjectBlog
dc.subjectFeedback
dc.subjectStaff Survey
dc.subjectวิสัยทัศน์ใหม่
dc.subjectสวนดุสิตโพล
dc.subjectมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
dc.titleการสื่อสารองค์กรที่ดี...มี ‘โอกาสรอด’
dc.typeArticle
mods.location.urlhttps://repository.dusit.ac.th/handle/123456789/427
Files
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Default Image
Name:
license.txt
Size:
371 B
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: