เรียนรู้ประวัติศาสตร์ เพื่อเข้าใจปัจจุบันและมองเห็นอนาคต”

dc.contributor.authorจิรานุช โสภา
dc.date.accessioned2025-03-23T05:50:22Z
dc.date.available2025-03-23T05:50:22Z
dc.date.issued2023-06-20
dc.description.abstractจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 73 ฉบับที่ 25095 วันที่ 20 มิถุยายน พ.ศ. 2566 กล่าวว่า ในสังคมปัจจุบัน วิชาประวัติศาสตร์มักถูกมองว่าเป็นวิชาล้าหลัง เนื่องจากการเรียนการสอนเน้นการท่องจำเหตุการณ์ตามลำดับเวลา ทำให้ขาดความเข้าใจเชิงลึกในความสัมพันธ์ของเหตุการณ์และผลกระทบต่อปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ประวัติศาสตร์เป็นการศึกษากิจกรรมของมนุษย์ในมิติเวลา เพื่อเข้าใจพัฒนาการของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม การเรียนรู้ประวัติศาสตร์จึงช่วยให้เข้าใจรากเหง้าของปัญหาในปัจจุบัน และสามารถคาดการณ์อนาคตได้ การเปลี่ยนรูปแบบการเรียนจากเน้นเนื้อหาไปสู่การพัฒนาทักษะการคิดเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Thinking) จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และตีความได้อย่างมีวิจารณญาณ แนวทางใหม่อย่าง Public History ยังเปิดโอกาสให้ประวัติศาสตร์เข้าถึงสาธารณะมากขึ้น ยิ่งในยุคโลกาภิวัตน์ที่ผู้คนตั้งคำถามกับอัตลักษณ์ของตนเอง การเรียนรู้ประวัติศาสตร์จึงยิ่งจำเป็น เพราะประวัติศาสตร์ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของอดีต แต่คือกุญแจสู่การเข้าใจปัจจุบัน และเตรียมพร้อมสำหรับอนาคต
dc.identifier.urihttps://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5400
dc.language.isoth
dc.publisherสยามรัฐ
dc.subjectประวัติศาสตร์
dc.subjectความสัมพันธ์
dc.subjectพัฒนาการ
dc.subjectการเปลี่ยนแปลง
dc.subjectทักษะการคิดเชิงประวัติศาสตร์
dc.subjectวิพากษ์วิจารณ์
dc.subjectอัตลักษณ์
dc.subjectPublic History
dc.subjectสังคม
dc.subjectอดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
dc.subjectมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
dc.subjectสวนดุสิตโพล
dc.titleเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เพื่อเข้าใจปัจจุบันและมองเห็นอนาคต”
dc.typeArticle
mods.location.urlhttps://repository.dusit.ac.th/handle/123456789/117
Files
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Default Image
Name:
license.txt
Size:
371 B
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: