จดหมายหลวงอุดมสมบัติ
dc.contributor.author | ยอดชาย ชุติกาโม | |
dc.date.accessioned | 2025-02-24T05:58:30Z | |
dc.date.available | 2025-02-24T05:58:30Z | |
dc.date.issued | 2021-02-15 | |
dc.description | บทความวิจารณ์หนังสือ | |
dc.description.abstract | รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นช่วงเวลา ทกี่รงุรตันโกสนิทรม์คีวามเจรญิรงุ่เรอืงและมคีวามมนั่คงมง่ัคงั่ ในชว่งเวลา เพียง ครึ่งศตวรรษหลังจากสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ชนชั้นนำ สยามสามารถสร้างบ้านเมือง วางระบบการปกครองที่มีเสถียรภาพและ สามารถแผ่อำนาจการปกครองไปได้มากกว่าที่กรุงศรีอยุธยาเคยมีมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยายอำนาจลง ไปทางหัวเมืองปักษ์ใต้และคาบสมุทรมลายู ที่กรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรี ไม่สามารถนำหัวเมืองมลายูมาอยู่ ภายใต้อำนาจได้อย่างมั่นคง การปกครองหัวเมืองปักษ์ใต้และหัวเมืองประเทศราชในคาบสมุทรมลายูในสมัย รตันโกสนิทรน์มี้คีวามสำคญัทางยทุธศาสตรอ์ยา่งมาก จะเหน็ไดว้า่หลงัจากสรา้งกรงุรตันโกสนิทรเ์ปน็ราชธานี ไม่นานนัก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดฯ ให้สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหา สรุสงิหนาท กรมพระราชวงับวรสถานมงคล เสดจ็ลงไปจดัการปกครองหวัเมอืงปกัษใ์ตแ้ละหวัเมอืงประเทศราช มลายูที่สำคัญให้เข้ามาอยู่ใน พระราชอาณาเขต เหตุที่หัวเมืองปักษ์ใต้และหัวเมืองประเทศราชมลายูมีความ สำคัญทั้งที่อยู่ห่างไกลจากราชธานีมากนั้น เนื่องจากเป็นดินแดนแห่งทรัพยากรธรรมชาติ สินค้าของป่า และ การเป็นชุมทางการค้าทางเรือกับโลกภายนอก ซึ่งมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ การจัดเก็บส่วยอากรต่าง ๆ ที่ กล่าวได้ว่าเป็นที่มาของรายได้จำนวนมากของแผ่นดิน | |
dc.identifier.issn | ISSN 2730-289X (Online) | |
dc.identifier.issn | ISSN 1686-0659 (Print) | |
dc.identifier.uri | https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/4174 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต | |
dc.relation.ispartofseries | ปีที่ 17; ฉบับที่ 1 | |
dc.subject | วิจารณ์หนังสือ | |
dc.title | จดหมายหลวงอุดมสมบัติ | |
dc.type | Article | |
mods.location.url | https://so19.tci-thaijo.org/index.php/SDUGSAJ/issue/view/46/42 |