การศึกษาคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความตั้งใจ ใช้บริการร้านอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมุสลิม

dc.contributor.authorนวลรัตน์ วัฒนา
dc.contributor.authorชฎาวรรณ ศิริจารุกุล
dc.contributor.authorธนะวิทย์ เพียรดี
dc.contributor.authorจริยา เกิดไกรแก้ว
dc.contributor.authorชารินี ใจเอื้อ
dc.contributor.authorยุวศรี อวะภาค
dc.contributor.authorนิศานาถ มั่งศิริ
dc.date.accessioned2025-02-18T15:57:48Z
dc.date.available2025-02-18T15:57:48Z
dc.date.issued2024-04-05
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาและทบทวนวรรณกรรม ฐานความรู้ แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำเสนอกรอบแนวคิดการศึกษาคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมุสลิม ผลการศึกษา พบว่า กรอบแนวคิดการศึกษาคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมุสลิม ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ องค์ประกอบคุณภาพการบริการ (Service Quality) ตัวแปรกลาง (Mediator Variable) คือ ความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวมุสลิม (Muslim’s tourist trust) และตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารฮาลาล (Intention to use service) โดยองค์ประกอบคุณภาพการบริการ ประกอบด้วย 1) คุณภาพการบริการด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ (Tangibility) 2) คุณภาพการบริการด้านความน่าเชื่อถือไว้วางใจในการบริการ (Reliability) 3) คุณภาพการบริการด้านการตอบสนองต่อลูกค้า (Responsiveness) 4) คุณภาพการบริการด้านการให้ความมั่นใจแก่ลูกค้า (Assurance) และ 5) คุณภาพการบริการด้านการเอาใจใส่ของลูกค้า (Empathy) ซึ่งได้มาโดยการวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวแปรและความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่นำเสนอภายใต้กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ จะถูกนำไปใช้ในการดำเนินงานวิจัยต่อไป และผลการศึกษาจะนำมาสู่ข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการบริการที่จะส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมุสลิมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารฮาลาลเพื่อเตรียมการหรือปรับตัวให้สามารถให้บริการนักท่องเที่ยวมุสลิมได้อย่างมั่นใจและสร้างความประทับใจและความพึงพอใจให้แก่นักท่องเที่ยว ทำให้นักท่องเที่ยวชาวมุสลิมสามารถใช้บริการร้านอาหารได้อย่างสนิทใจและเกิดความรู้สึกปลอดภัยในการบริโภค
dc.identifier.citationนวลรัตน์ วัฒนา, ชฎาวรรณ ศิริจารุกุล, ธนะวิทย์ เพียรดี, จริยา เกิดไกรแก้ว, ชารินี ใจเอื้อ, ยุวศรี อวะภาค, นิศานาถ มั่งศิริ
dc.identifier.urihttps://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/3850
dc.language.isoth
dc.publisherJournal of Roi Kaensarn Academi
dc.relation.ispartofseriesปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ประจําเดือนเมษายน 2567
dc.subjectคุณภาพการบริการ; ความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวมุสลิม; ความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารฮาลาล
dc.subjectService Quality; Muslim’s tourist trust; Intention to use Halal restaurant service
dc.titleการศึกษาคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความตั้งใจ ใช้บริการร้านอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวมุสลิม
dc.title.alternativeThe Study ofService Quality TowardTourist’s Trustand IntentionforHalal Restaurants
dc.typeArticle
mods.location.urlhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/268874/179874
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
การศึกษาคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความตั้งใจ.pdf
Size:
331.41 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Default Image
Name:
license.txt
Size:
371 B
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description:
Collections