ทำโพลอย่างไร? “ให้ใช้งาน” ได้ (ดี)
Loading...
Date
2021-11-16
ISBN
Journal Title
Journal ISSN
Volume Title
Resource Type
Article
Publisher
สยามรัฐ
Journal Title
ทำโพลอย่างไร? “ให้ใช้งาน” ได้ (ดี)
Authors
Recommended by
Abstract
จากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 72 ฉบับที่ 24680 วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 กล่าวว่า การทำโพลเป็นเครื่องมือสำคัญในสังคมเสรีที่ใช้สะท้อนความคิดเห็นของประชาชนในประเด็นสำคัญต่าง ๆ แม้เทคโนโลยีจะเข้ามาดิสรัปต์การทำโพลจนเกิดผู้เล่นใหม่ที่สามารถทำโพลราคาถูกได้ แต่การสำรวจความคิดเห็นยังคงมีความจำเป็นสูง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน สื่อ และนักคิดยังต้องพึ่งพาข้อมูลจากโพลในการดำเนินงานและวางนโยบาย อย่างไรก็ตาม วิธีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างกัน เช่น การสัมภาษณ์สด การสำรวจออนไลน์ หรือการใช้ระบบโทรศัพท์อัตโนมัติ อาจทำให้เกิดความคาดเคลื่อนของผลลัพธ์ได้ แม้จะใช้คำว่า "ตัวแทนระดับประเทศ" หรือศัพท์ที่ดูน่าเชื่อถืออื่น ๆ แต่ก็ไม่ได้รับประกันความแม่นยำเสมอไป จำนวนผู้ตอบที่ลดลงไม่กระทบผลโพลหากกลุ่มตัวอย่างตรงประเด็น การทำโพลจึงยังไม่ล้มหายไป แต่จำเป็นต้องพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะในยุคที่ผู้ใช้โพลมีความรู้เท่าทัน และตั้งคำถามต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูลมากยิ่งขึ้น
Description
Keywords
โพล (Polls)
สังคมเสรี (Free society)
ความคิดเห็นประชาชน (Public opinion)
ดิสรัปชั่น (Disruption)
โพลราคาถูก (Cheap polls)
ตัวแทนระดับประเทศ (Nationally representative)
การสำรวจออนไลน์ (Online survey)
ความน่าเชื่อถือ (Credibility)
การคาดเคลื่อน (Deviation)
การพัฒนาโพล (Poll development)
สวนดุสิตโพล
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
สังคมเสรี (Free society)
ความคิดเห็นประชาชน (Public opinion)
ดิสรัปชั่น (Disruption)
โพลราคาถูก (Cheap polls)
ตัวแทนระดับประเทศ (Nationally representative)
การสำรวจออนไลน์ (Online survey)
ความน่าเชื่อถือ (Credibility)
การคาดเคลื่อน (Deviation)
การพัฒนาโพล (Poll development)
สวนดุสิตโพล
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต