รู้ทัน “อินเทอร์เน็ตโพล”

dc.contributor.authorนงค์ลักษณ์ โชติวิทยธานินทร์
dc.date.accessioned2025-03-22T11:14:45Z
dc.date.available2025-03-22T11:14:45Z
dc.date.issued2021-10-12
dc.description.abstractจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 72 ฉบับที่ 24655 วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2564 กล่าวถึง ในปัจจุบัน การสำรวจความคิดเห็น (โพล) นิยมทำผ่านอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบสามารถเข้าถึงผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งเรียกว่า Internet Poll โดยใช้เวลาสั้นกว่าวิธีดั้งเดิม เช่น การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์หรือพบหน้าซึ่งยังคงใช้อยู่ในบางกรณี เช่น รัฐบาลหรือสถาบันการศึกษา การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างมีทั้งแบบ Panel คือผู้สมัครใจให้ข้อมูลล่วงหน้า และ River Sampling คือผู้ถูกเชิญชวนให้ตอบโพลในขณะเข้าเว็บไซต์หรือแอป ทั้งนี้ ควรระวังเรื่องความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะผู้ตอบอาจไม่เป็นตัวแทนที่แท้จริงของกลุ่มเป้าหมาย และจำนวนผู้ตอบที่น้อยอาจทำให้ผลคลาดเคลื่อนได้ การตั้งคำถามควรชัดเจน ไม่กำกวม และไม่ชี้นำ รายงานผลต้องระบุที่มาชัดเจน เช่น วิธีการ กลุ่มตัวอย่าง ระยะเวลา ฯลฯ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ใช้ผลโพล ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุดไม่ว่าจะยุคใดก็ตาม
dc.identifier.urihttps://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5348
dc.language.isoth
dc.publisherสยามรัฐ
dc.subjectInternet Poll
dc.subjectPanel
dc.subjectRiver Sampling
dc.subjectความน่าเชื่อถือ
dc.subjectการสุ่มตัวอย่าง
dc.subjectแบบสอบถาม
dc.subjectการสัมภาษณ์
dc.subjectข้อมูลเบื้องต้น
dc.subjectความคลาดเคลื่อน
dc.subjectรายงานผลโพล
dc.subjectมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
dc.subjectสวนดุสิตโพล
dc.titleรู้ทัน “อินเทอร์เน็ตโพล”
dc.typeArticle
mods.location.urlhttps://repository.dusit.ac.th/handle/123456789/342
Files
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Default Image
Name:
license.txt
Size:
371 B
Format:
Item-specific license agreed to upon submission
Description: