Faculty of Nursing
Permanent URI for this community
Browse
Browsing Faculty of Nursing by Title
Now showing 1 - 20 of 34
Results Per Page
Sort Options
Item A perception of COVID-19 and self-protection behavior of Thai people in rural communities(Kasetsart Journal of Social Sciences, 2023) Churai ArpaichiraratanaThis research was aimed to (1) study the perception of COVID-19 of Thai people in rural communities; (2) compare their perception among sexes and age groups using Q-methodology; and (3) to study their self-protection behaviors and the relationships of their COVID-19 perceptions and self-protection behaviors. The study process comprised (I) three focus group interviews, and (2) the data collection from 64 samples with balanced numbers of sexes and age groups. Three sets of research instruments were used (I) open-ended questions for focus group interview; (2) COVID-19 Perception questionnaire; a Q-sort questions developed by researchers, based on Health Belief Model and the information obtained from focus group interviews; and (3) Self-Protection Behavior questionnaire, a three-level rating scale. The results revealed that COVID-19 perception on five domains of Health Belief Model which obtained highest score were relevant with family e.g., on Perceived severity domain, "If I get COVID-19 my family will be in trouble."; Perceived benefits, "I will do everything for the safety of my family members." It was found that Thai people in rural communities have self-protection behaviors much appropriate in general. Women had higher Self-protection behavior scores than men and people in age-group 60 had highest Self-protection behavior scores. Negative relationships were found between Perceived barriers and Self-protection behaviors in general and two other domains. A conclusion that Thai people in rural communities gave priority to family can be used as the key message on health campaign against COVID-19 and other emerging diseases in the future.Item An Integrative Stress Reduction Program for Family Caregivers of Persons With Advanced Dementia: A Pilot Study(Journal of Gerontological Nursing, 2022) Panawat SanprakhonThe current study sought to pilot test and examine the effects of an integrative stress reduction program (ISRP) on caregiver stress and sleep quality and behav-ioral and psychological symptoms of dementia (BPSD) of care recipients. Family caregivers (N = 12) of persons with moderate to severe dementia were recruited from memory clinics in Thailand. Twelve caregivers participated in five educational sessions on dementia care, stress, and BPSD management over 4 weeks. The Rela-tive Stress Scale and Pittsburgh Sleep Quality Index were used to measure care-giver outcomes. The Neuropsychiatric Inventory was used to measure BPSD of care recipients. Outcome variables were collected at baseline, postintervention, and follow up. Data were analyzed using one-way repeated measures analysis of vari-ance. Participants reported statistically decreased stress, improved sleep quality, and decreased BPSD among care recipients postintervention and at follow up (all p < 0.001). The ISRP was feasible and shows promise in reducing stress and improv-ing sleep quality in caregivers and lessening BPSD in care recipients.Item Exploring the Association BetweenLoneliness, Subjective Cognitive Decline, and Quality of Life Among Older Thai Adults: A Convergent Parallel Mixed-Method Study(SOUTHERN GERONTOLOGICAL SOCIETY, Journal of Applied Gerontology, 2023) Panawat Sanprakhon; Orranuch ChusriExamining the rising prevalence of subjective cognitive decline as an early indicator of dementia in adults, this study investigates its complex interaction with loneliness and quality of life in individuals with preclinical dementia. Using a convergent parallel mixed-method approach, we employed Structural Equation Modeling on a cohort of 149 older adults. Qualitative insights were derived from focused group discussions and in-depth semi-structured interviews with a cohort of 23 older adults. Loneliness emerges as a pivotal contributor, exerting a discernible partial indirect effect on quality of life through subjective cognitive decline (indirect effect = 0.145, p = .006). Noteworthy differentials surfaced, with the impact of subjective cognitive decline on quality of life heightened in those with chronic diseases (4χ2 = 6.139, p = .013). Loneliness, wielding a palpable impact, intricately interlaces with quality of life, the nexus of which is intricately mediated by subjective cognitive decline.Item External Factors Confronting Elderly Day Care in The Aftermath of The Covid-19 Crisis in Bangkok, Thailand(Journal of Food Health and Bioenvironmental Science, 2023-09) Orranuch ChusriThe study aimed to investigate at the external factors affecting elderly day care centers after COVID-19 crisis in Bangkok, Thailand. The research method used was qualitative research, which included a review of the literature and in-depth interviews with three groups of stakeholders in Bangkok: two officers from the government sector, two elderly day care center owners and three caregivers from the private sector and three elderlies and two family members from the community sector. The semi-structured interview questions were open-ended and validated by two experts. The researcher then utilized the content analysis, case study research and PESTLE analysis techniques to examine the factor. Results showed the three perspectives (the government sector, the private sector, and the community sector). The factors that impact elderly care centers vary among different groups of individuals, with the government and private sectors having contrasting approaches. The government has implemented various measures to control the standards of elderly care centers and manage the spread of COVID-19. However, the private sector prioritizes business expansion and service provision, often neglecting government standards. This contrasts with the public sector, which values diverse factors such as standards for care centers, caregiver qualifications, disease control measures, service fees, convenience and the quality of services provided by the centers. In conclusion, elderly day care centers can better adapt to the challenges posed by the COVID-19 crisis and provide improved care for the elderly by enhancing affordability and integrating technology. Government should focus on improving certification standards and creating supportive living environments for the elderly.Item Factors Associated With Alcohol Consumption Among Thai People by Gender(International Nurses Society on Addictions, 2023) Sattha PrakobchaiObjective: The aim of this study was to examine factors associated with alcohol consumption among Thai people by gender using the social determinants of health theoretical framework. Method: Participants were Thai people aged 15 years or older. A total of 25,758 Thai people were selected through a stratified random sampling method. The study was a secondary analysis of a national cross-sectional study using the data from the Thailand Smoking and Drinking Behavior Survey 2014. Results: Thai people were regular drinkers (13.69%). Regarding gender, 26.54% of men and 2.72% of women wen were regular drinkers. The risk factors for regular drinking among Thai men included family members and close friends consuming alcohol, being aged 25-44 years, living in Northem Thailand, being a skilled or unskilled worker, smoking, and income of 10,001-30,000 Thai bahtimonth (31 Thai Baht (THBYU.S. dollars). Protective factors against alcohol consumption were living in Southern Thailand and being unemployed/a student. For women, the risk factors for regular drinking were family members and close friends drinking as well as smoking. Being married, living in a nonmunicipal area, holding a diploma or bachelor's degree, and being unemployed/a student were protective factors against alcohol drinking among women. Factors associated with alcohol consumption among Thai people vary by gender. Therefore, solving the drinking problems should consider both the risk and protective factors for men and women separately.Item Health Behaviors and Patients with Coronary Artery Disease (CAD) : Role of Self-efficacy(Journal of Food Health and Bioenvironmental Science, 2021) Chayanis Chobarunsitti; Sattha PrakobchaiCardiac disease is a major risk of mortality and morbidity globally. Patients with coronary artery diseases are more likely to die than other chronic diseases in poor health behavior either pre or post-treatment. Even though cardiac patients tried to seek the ways to promote their health, they might face with the difficulties to change the behavior. Numerous studies showed that self-efficacy plays a crucial role as a buffer to perform activity as reflect personal beliefs and confidence. We synthesize the evidences on self-efficacy and health behavior regarding smoking behavior, alcohol consumption, eating behavior, physical activity or exercise behavior and stress management.We found that most of the researchers successfully applied self-efficacy to promote physical activity or exercise among patients with coronary artery disease in short term period.Nurses should assess functional status and provide health education to promote well-being and encourage patients to perform and maintain their capability on health-promoting behaviors.Item Health Literacy among Caregiver and Older Adults with Chronic Kidney Disease(วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ Journal of Health Sciences Scholarship, 2022) Rungnapa PongkiatchaiIn older adults, communicable diseases continued to account for an increasing proportion of mortality. Literature revealed that the majority of older adults possessed a low degree of health literacy, which was connected with ineffective management of health behaviours and these negative consequences. The purpose of this paper is to comprehend the significance of health literacy and clinical practice among elderly patients with chronic renal disease and their caregivers. Chronic kidney disease, health literacy, the significance of health literacy and self-management in chronic kidney disease and their caregivers, use in clinical practice, and a discussion of the outcomes of past studies are discussed. In conclusion, the significance of health literacy is resulting in improved health outcomes.Item Instructional Design: Under the Concept of Game Based Learning for Nursing Education(Joumal of Food Health and Bioenvironmental Science, 2023) Sunida Choosang; Rungnapa Pongkiatchai; Niratchada Chai-ngamGame-based learning (GBL) is a method that motivates students to learn content in a fun way. Learners are motivated by challenge, fantasy, and curiosity in games. GBL provides learners with the opportunity to test the game and empower them to make decisions. The course content can be inserted into the minds of the learners through the game to help them develop and achieve higher learning outcomes. article presents information about game-based learning management. The concept of game-based learning and a review of the design elements of educational games are discussed. We then review the game development process and the implement of games in the classroom as well as assessing outcomes. Lastly, GBL trend for nursing education is discussed.Item Integrative Stress Reduction Program for Family Caregivers of Persons With Advanced Dementia: A Randomized Controlled Trial(Western Journal of Nursing Research, 2023) Panawat SanprakhonBackground: Older adults with advanced dementia require significant care, leading to high stress levels in caregivers. Objectives: The current study aimed to evaluate the effects of an Integrative Stress Reduction Program on Thai caregiver's outcomes of stress, sleep quality, and caregiver-assessed neuropsychiatric symptoms of persons with dementia. Methods: A single-blind randomized-controlled trial was conducted. A sample of family caregivers of people with dementia was recruited from memory clinics at outpatient community health centers in Thailand and randomly assigned to the experimental and control groups. Participants in the experimental group were enrolled in 5 intervention sessions over 4 weeks, while the control group received usual care. Outcome variables were collected at baseline, 4 weeks postintervention, and 8 weeks of follow-up. Results: Compared with the control group, caregivers in the experimental group (n 27) had significantly decreased stress (p < .01) and better sleep quality (p < .01), and caregivers reported that their family members with dementia (n 27) had decreased neuropsychiatric symptoms (p < .01) after the intervention (week 4) and at the 8-week follow-up. Conclusions: The Integrative Stress Reduction Program improved outcomes for caregivers and decreased neuropsychiatric symptoms in people with dementia.Item Physical Activity and Heart Rate Variability Among Middle Age to Older Adults with Heart Failure: The State of Scienc(Journal of Food Health and Bioenvironmental Science, 2023) Sattha Prakobchai; Kijja Suwan; Manida DechakulPhysical activity or exercise relates to the physiological responses especially in heart rate variability (HRV). HRV is a predictor of prognosis of heart failure and cardiac functions. However, little is known about the relationship of physical activity, HRV improvement and autonomic regulation in heart failure of older adults. The purpose of this state of science review is to synthesize the evidence that shows the effects of physical activity or exercise, HRV and physiological outcomes. The literature searched includes 12 studies from four electronic databases (PsycInfo, Pubmed, Scopus and CINAHL). The findings revealed that physical activity or exercise will improve HRV. This review showed that physical activity improves cardiac autonomic function (nerohormornal activation, sympathetovocal balance, baroreceptor reflex) and inhibits alpha 2 antagonist to improve HR reserve and RR intervals and prevent premature ventricular contraction (PVC). However, the level of physical activity and intensity are not clear. Tailored interventions or community-based programs will be effective in order to maintain physical activity and functional outcomes. A higher HRV is related to the functional capacity compared to the lower. Therefore, healthcare providers should regularly assess heart rate variability among heart failure patients to determine the threshold and recovery for physical functioning in regards to the stress form physical activity.Item Pilot testing of the strengthening caregiving activities program for Thai informal caregivers of dependent older people(Geriatric Nursing, 2022) Panawat Sanprakhon; Orranuch ChusriThis study sought to evaluate the feasibility and preliminary effect of the Strengthening Caregiving Activities Program on care partners' caregiver burden and activities of daily living (ADLs) ability. The program was used for the informal caregivers of dependent older people; 29 participants were recruited from a community center in Thailand. Caregiver burden and ADL changes were assessed for preliminary effects using the one-way repeated measure ANOVA at baseline, post-intervention, and follow-up. The six program sessions were implemented as intended, with 93.10% of participants reporting satisfaction with the program (M = 26.653; SD = 3.380). Caregiver burden statistically decreased after the intervention and follow-up (p < .05), but the care partners' ADLs did not. This program was feasible and showed promise for the reduction of caregiver burden. A randomized controlled trial should be conducted to test the effect of the Strengthening Caregiving Activities Program on large samples of caregivers.Item การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเรียนผ่านระบบออนไลน์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร(วชิรสารการพยาบาล, 2022) ธีระชล สาตสินโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วได้ทำให้สถาบันการศึกษาจำเป็นต้องมีการออกแบบและจัดทำการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ สถาบันการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ก็มีความจำเป็นต้องมีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์เช่นเดียวกัน ซึ่งการออกแบบการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ให้ประสบความสำเร็จนั้น การทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเรียนผ่านระบบออนไลน์ได้กลายเป็นข้อมูลสำคัญจะช่วยให้การจัดการเรียนการสอนนั้นประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน ดังนั้น การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อสังเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเรียนผ่านระบบออนไลน์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ผ่านการใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ตามกรอบการสืบค้นตามกรอบแนวคิด PICO ที่ประกอบไปด้วย ประชากรที่สนใจศึกษา (P) สิ่งแทรกแซง (I) สาเหตุหรือปัจจัย (C) ผลลัพธ์ (O) ผลการทบทวนวรณกรรม พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องข้องต่อการเรียนผ่านระบบออนไลน์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ประกอบไปด้วยปัจจัยด้านตัวผู้เรียน คือความแตกต่างระหว่างเพศ ช่วงอายุ ประสบการณ์การเข้าถึงและใช้งานเทคโนโลยี ทัศนคติและพฤติกรรม การเรียน และปัจจัยภายนอกที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่ ความไว้วางใจต่อผู้สอน สื่อการสอนออนไลน์ และสภาพแวดล้อมItem การประเมินความต้องการจำเป็นในการอบรมหลักสูตรผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ดูแล Needs Assessment in Training Courses for Caregivers on Dependent Elderly Care(Princess of Naradhiwas University Journal, 2022) ดวงเนตร ธรรมกุล; เรณู ขวัญยืน; อรนุช ชูศร; ณัฐรพี ใจงามงานวิจัยเพื่อศึกษาและจัดลำดับความต้องการจำเป็นอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลบ้านลองตอง อำเภอสอสองที่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างเดือน เมษายน ถึง พฤษภาคม 2565 จำนวน 66 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความต้องการจำเป็นในการอบรมฯ ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 0.67-1.00 ตรวจสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบราค ได้เท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิธีคำนวณหาดัชนีความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง (Prionity Needs Index: PNI ......) ผลวิจัยพบว่า ระดับความต้องการจำเป็นอบรมหลักสูตรฯตามสภาพจริงมีระดับปานกลาง(M-3.55, S.D.=0.50) ระดับความต้องการจำเป็นในการอบรมหลักสูตรฯตามสภาพที่คาดหวังมีระดับ มากที่สุด (M=4.71, S.D.-0.45) ผลการจัดลำดับความต้องการจำเป็นฯ พบว่า ความต้องการจำเป็นในการอบรมสูงสุดถึงต่ำสุด ได้แก่ 1) การดูแลเพื่อคลายความเครียด 2) การใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์สำหรับตนเองและดูแลผู้สูงอายุ 3) การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ: อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ 4) สิทธิผู้สูงอายุตามรัฐธรรมนูญ/กฎหมายแรงงานที่ควรรู้ 5) ความจำเป็นของการดูแลผู้สูงอายุ: โรคเรื้อรัง ติดเตียง 6) การช่วยเหลือผู้สูงอายุเบื้องต้น 7) การใช้ยาในวัยสูงอายุ 8) ภาวะวิกฤติกับการปฐมพยาบาล 9) การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้เนื่องจากชราภาพหรือมีปัญหาระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ และ 10) บทบาทและจริยธธรรมของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (PNI .... -0.348, 0.346, 0.342, 0.336, 0.331, 0.329, 0.326, 0.315, 0.300, และ 0.29) ซึ่งสามารถนำไปพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ และเกิดประ โยชน์ต่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้Item การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล โดยการใช้ห้องเรียนกลับด้านในวิชาศักยภาพ การนำและการบริหารจัดการทางคลินิก Improving of Learning Outcomes for Nursing Students by Using Flipped Classrooms in Leadership and Clinical Nursing Management Subject(2023) ลัดดาวัลย์ เตชางกูร; ชญานิศ ชอบอรุณสิทธิการศึกษาวิจัยพัฒนาการเรียนรู้นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบห้องเรียนกลับ ด้าน (fipped class room) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาศักยภาพการนำและการบริหารจัดการทางคลินิคลินิกก่อนและหลังการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลังการใช้ห้องเรียนกลับด้านการศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง (Quasi Experimental. Research) โดยมีประชากรคือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จำนวน 118 คน ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาศักยภาพการนำและการบริหารจัดการทางคลินิก ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 และยินยอมและยินดีเข้าร่วมการศึกษาวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านรายวิชาศักยภาพการนำและการบริหารจัดการทางคลินิก และแบบทดสอบเพื่อวัดความรู้และประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ผลการจัยพบว่า ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 118 คน เป็นนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2564 เพศชาย 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.32 เพศหญิง จำนวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 90.68 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของรายวิชาศักยภาพการนำและการบริหารจัดการทางคลินิก ก่อนและหลังการใช้ห้องเรียนกลับด้าน มีคะแนนเฉลี่ย = 29.21 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 3.22 และหลังใช้ห้องเรียนกลับด้าน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย = 32.00 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 3.27 นักศึกษาหลังการใช้ห้องเรียนกลับด้านมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนการใช้ ห้องเรียนกลับด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 (p<.01) สำหรับผลการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนและหลังการใช้ห้องเรียนกลับด้าน ในรายวิชาศักยภาพการนำและการบริหารจัดการทารทางคลินิก พบว่า ผลการเรียนรู้รวมทุกด้านก่อนการใช้ห้องเรียนกลับด้าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 82.75 (SD-8.92) และผลการเรียนรู้รวมทุกด้าน หลังการใช้ห้องเรียนกลับด้าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 100.53 (SD-8.21) เมื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนและหลังการใช้ห้องเรียนกลับด้าน พบว่า นักศึกษาหลังการใช้ห้องเรียนกลับด้านมีผลการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำทัญทางสถิติที่ .01 (p<.01)Item การพัฒนาแบบประเมินความสามารถด้านปฏิบัติการพยาบาล ของนักศึกษาพยาบาลขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล ณ หน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน(VAJIRA NURSING JOURNAL, 2023-07) ธีระชล สาตสินการวิจัยครั้งนี้เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินความสามารถด้านปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล ณ หน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการส่มแบบง่าย ด้วยวิธีการจับสลาก และอาจารย์นิเทศ จำนวน 3 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความสามารถ ด้านปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล ณ หน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน และแบบประเด็นคำถามการสนทนากลุ่ม โดยใช้การสนทนากลุ่มแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรมไมโครขอฟท์ทีม การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์คำความถี่ ค่าร้อยละ เพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้องใช้การวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธ์แอลฟ้าของครอนบาคเพื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมิน ผลการศึกษาพบว่า ดัชนีความสอดคล้องระหว่างองค์ประกอบความสามารถและพฤติกรรมบ่งชี้ระดับ คุณภาพจากผลการตัดสินของผู้เชี่ยวชาญ ด้านความสามารถของการประเมินอาการในภาวะฉุกเฉิน ด้านทักษะ ปฏิบัติการพยาบาล ด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านจริยธรรมและกฎหมาย และด้านบุคลิกภาพและการพัฒนา ตนเองหาค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1, 0.98, 0.67, 0.80 และ 1 ตามลำดับ และค่าสัมประสิทธ์แอลฟ้า ของครอนบาค เท่ากับ 0.80, 0.82, 0.65, 0.69 และ 0.87 ตามลำดับItem การแปลแบบข้ามวัฒนธรรมและการทดสอบความตรงและความเชื่อมั่นของแบบวัดความเครียดของญาติผู้ดูแล ฉบับภาษาไทย ในผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาการรู้คิ(Journal of Mental Health of Thailand, 2023) ปณวัตร สันประโคนวัตถุประสงค์ : เพื่อแปลและทดสอบความตรงและความเชื่อมั่นของแบบวัดความเครียดของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหา การรู้คิด วิธีการ : แปลแบบวัดความเครียดของญาติผู้ดูแลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการแปลภาษา 2 คน อย่างเป็นอิสระต่อกัน ตรวจสอบความเหมาะสมของภาษาโดยการแปลย้อนกลับเป็นภาษาต้นฉบับ ประเมินความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน จากนั้นศึกษาภาคตัดขวางเพื่อทดสอบคุณสมบัติของแบบวัดในผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาการรู้คิด 100 คน ในชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี ประเมิน 2 ครั้ง ห่างกัน 2 สัปดาห์ ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจจากข้อมูลครั้งที่ 1 และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจากข้อมูลครั้งที่ 2 วิเคราะห์ความเชื่อมั่นภายนอกระหว่างการทดสอบ 2 ครั้งด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้น และวิเคราะห์ความเชื่อมั่นภายในด้วยสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ผล : แบบวัดความเครียดของญาติผู้ดูแล ฉบับภาษาไทย จำนวน 15 ข้อ จำแนกเป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความกดดัน ส่วนบุคคล (personal distress) 2) ความปั่นป่วนวุ่นวายของชีวิต (degree of life upset) และ 3) ความรู้สึกเชิงลบต่อ ผู้สูงอายุ (negative feelings toward care recipient) มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา 0.92 และมีความสอดคล้องกันระหว่างตัวแปรสังเกตกับแต่ละองค์ประกอบ (χ2/df =1.70, RMSEA = 0.08, CFI = 0.93, TLI = 0.91) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้นของแต่ละองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.96 - 0.98 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแต่ละองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง 0.89 - 0.91 สรุป : แบบวัดความเครียดของญาติผู้ดูแล ฉบับภาษาไทย มีความตรงและความเชื่อมั่นในระดับที่ดี เหมาะสำหรับใช้วัดความเครียดของผู้ดูแลที่ให้การดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการรู้คิดItem การใช้ห้องเรียนกลับด้านพัฒนาผลการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน: บทบาทของผู้เรียนและผู้สอน(2023) ดวงเนตร ธรรมกุล; พิมพ์ขวัญ แก้วเกลื่อน; ลัดดาวัลย์ เตชางกูรการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านเป็นแนวทางการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้อันพึง ประสงค์ ด้วยหลักการ 3 ขั้นตอนได้แก่ 1) พิจารณาเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใช้การเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์สื่อสาร 2) ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการสื่อสาร เพื่อตอบข้อสงสัย ตั้งคำถาม หรือแจ้งให้ผู้เรียนสืบค้นค้นเรื่องที่ต้องการ และ 3) ใช้เวลาในห้องเรียน ส่งเสริมความเข้าใจผ่านกิจกรรม การอภิปราย วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ และอธิบายสาระสำคัญเพิ่มเติม ผู้สอนใช้องค์ประกอบ 4 ด้านหมุนเวียนเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง คือ 1) การกำหนดยุทธวิธีเพิ่มพูมพูนประสบการณ์ครูผู้สอนเป็นผู้ชี้แนะวิธีการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนผ่านเกม สถานการณ์จำลอง สื่อปฏิสัมพันธ์ การทดลอง หรือการวิจัย 2) การสืบค้นเพื่อให้เกิดมโนทัศน์รวบยอด ครูสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ทันสมัยและน่าเชื่อถือ 3) การสร้างองค์ความรู้อย่างมีความหมาย ผู้เรียนเป็นผู้บูรณาการสร้างทักษะองค์ความรู้จากสื่อที่ได้รับจากการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการสะท้อนคิดและการชี้แนะ และ 4) การสาธิตและประยุกต์ใช้ ผู้สอนสามารถสร้างสรรค์และส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีตอบสนองกับผู้เรียนได้มากยิ่งขึ้น ประกอบกับการแพร่ระบาดของสถานการณ์โควิด-19 การเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านจะช่วยลดการเรียนในห้องเรียน ช่วยให้มีการเว้นระยะห่างทางสังคมลดการรวมกลุ่ม และเพิ่มการพูดคุยกันผ่านทางสื่อออนไลน์มากขึ้น ช่วยพัฒนาทักษะและทัศนคติการเรียนรู้ด้วยตนเองเกิดความพึงพอใจในการเรียน และพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้และสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้Item ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Health Literacy of Chronic Kidney Disease Patients(วารสารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธ, 2022) เพชรรัตน์ เจิมรอดการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเปรียบเทียบเทียบเทียบความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา รายได้ และภูมิลำเนา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะ 3b-ระยะ 4 จำนวน 1,200 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน และนำไปทดลองใช้ มีค่าความเชื่อมั่น 0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA ผลการศึกษา พบว่า 1) ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาความรอบรู้ด้านสุขภาพรายด้าน พบว่า ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพด้านการเข้าถึงข้อมูล ด้านการสื่อสารข้อมูล ด้านกรศัตสินใจ และห้านการจัดการผนเสง อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการรู้เท่าทันสื่ออยู่ในระดับต่ำ 2) การเปรียบเทียบความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง พบว่า อายุ การศึกษา รายได้ และภูมิลำเนาที่ต่างกัน จะมีความรอบรู้ด้านสุขภาพแตกต่างกันItem ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 ตามแบบชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษา สังกัดสถาบันอุดมศึกษาแห่งหนึ่ง เขตกรุงเทพมหานคร(วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 2023-09) ดุษฎี ดวงมณี; ประภัสสร เสงี่ยมกุลถาวรบทนำ: การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษาทั่วโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงของการจัดการเรียนการสอน นักศึกษาต้องปรับตัวในการศึกษาตามแบบชีวิตวิถีใหม่ โดยพึงให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและมีพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 ที่ถูกต้องและเหมาะสม วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ระดับพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 ตามแบบชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาสังกัดสถาบันอุดมศึกษาแห่งหนึ่ง เขตกรุงเทพมหานคร ระเบียบวิธีวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา แบบหาความสัมพันธ์ (descriptive correlation research) เก็บข้อมูลในนักศึกษาสังกัดสถาบันอุดมศึกษาแห่งหนึ่ง เขตกรุงเทพมหานคร จำ นวน 222 คน ระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน พ.ศ. 2566 โดยสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา .89 และ .92 และมีความความเชื่อมั่น .92 และ .80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย: พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 อยู่ในระดับสูง และ 2) ความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 ในระดับสูง (r = .601, p <.05) สรุปผล: ความรอบรู้ด้านสุขภาพช่วยให้นักศึกษามีพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 โดยความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 ข้อเสนอแนะ: ควรศึกษาเพิ่มเติมถึงผลกระทบหลังการระบาด COVID-19 ในสถานศึกษา เพื่อการจัดบริการสุขภาพ สำหรับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่มีประสิทธิภาพItem ทางเลือกใหม่ในการวางแผนการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน: โมเดล MATCH New Options for Health Promotion Planning in the Community: MATCH Model(Journal of Health and Nursing Research, 2021) ดวงเนตร ธรรมกุลบทนำ : แบบจำลองการวางแผนการส่งเสริมสุขภาพเปรียบเสมือนพิมพ์เขียวที่ได้รับการออกแบบไว้อย่างมีระบบและ สร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิดทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์และหลักฐานเชิงประจักษ์ของข้อมูล เพื่อการนำไปใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอแนวคิดและการประยุกต์ใช้โมเดล MATCH ในการวางแผนการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ประเด็นสำคัญ: การวางแผนการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนตามโมเดล MATCH เป็นหลักการวางแผนและออกแบบ โปรแกรม ตามหลักนิเวศวิทยาในการส่งเสริมสุขภาพโดยพิจารณาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรมทุกระดับ ประกอบด้วยระดับบุคคล ระดับระหว่างบุคคล ระดับองค์กร ระดับชุมชน และระดับสังคม โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการ 5 ระยะดังนี้ 1) ระยะเลือกเป้าหมายพฤติกรรมและภาวะสุขภาพ 2) ระยะการวางแผนโปรแกรมการพัฒนา 3) ระยะการพัฒนาโปรแกรม 4) ระยะการวางแผนนำโปรแกรมการพัฒนาไปใช้ และ 5) ระยะประเมินผล เมื่อดำเนินการทั้ง 5 ระยะ ผลที่ได้คือแม่แบบที่พร้อมใช้ในการส่งเสริมสุขภาพตามพฤติกรรมที่ค้นพบ กลุ่มเป้าหมาย และบริบทที่แตกต่างกัน สรุป: โมเดล MATCH เป็นแบบจำลองในการวางแผนและออกแบบโปรแกรมทางส่งเสริมสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้ปัญหา กลุ่มเป้าหมาย และบริบท เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากโปรแกรมนั้นมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และนำมาสู่การมีสุขภาพที่ดีต่อไป ข้อเสนอแนะ: แนวทางที่นำเสนอสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดภายใต้กระบวนการวิจัยหรือนำไปประยุกต์ใช้ในชุมชนที่มีบริบทและปัญหาสุขภาพเช่นกัน