GRS-Article
Permanent URI for this collection
Browse
Browsing GRS-Article by Author "รุ่งนภา ตั้งจิตรเจริญกุล"
Now showing 1 - 2 of 2
Results Per Page
Sort Options
Item RESEARCH AND DEVELOPMENT FOR EARLY CHILDHOOD TEACHERS’ DESIRED COMPETENCIES OF THE CHILD DEVELOPMENT CENTERS UNDER LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION CORRESPONDING THE CHANGE IN THE 21ST CENTURY EDUCATION(Journal of Educatino Naresuan University, 2023-01) รุ่งนภา ตั้งจิตรเจริญกุลThe purposes of this research were 1) to formulate the components of desired competencies’ early childhood teachers of the child development centers under Local Administrative Organization corresponding the change in the 21st century education, 2) to examine indicators and research instruments of desired competencies’ early childhood teachers of the child development centers, 3) to evaluate desired competencies’ early childhood teachers of the child development centers of stakeholders, and 4) to study variables affecting desired competencies’ early childhood teachers of the child development centers. Data were collected by evaluation form from early childhood teachers, administrators, and parents. They were analyses using descriptive statistics, factor analysis and one-way ANOVA. The significant research findings were 1) Eighty-two related literatures were reviewed for synthesis the desired competencies’ early childhood teachers of the child development centers. There were 3 components of desired competencies’ early childhood teachers: 1.1) core competency consisted of 5 indicators (childhood’body of knowledge competency, instruction competency, research and development competency, learner development competency and self development competency, 1.2) non-core competency composed of 4 indicators (communication competency, moral and ethics competency, teamwork competency and academic service competency), 1.3) management competency composed of 4 indicators (leadership competency, environment management for learning support competency, environmental sanitary management competency and participation with community competency). 2) The result of the quality examination of desired competencies’ early childhood teachers of child development centers evaluated from experts and stakeholders found that they had appropriateness, feasibility and utility. 3)The evaluation results of desired competencies’ early childhood teachers of child development centers from stakeholders found that the component of core competency had the highest mean (mean=4.36, 4.31 and 4.28, respectively) followed by the non-core competency (mean=4.26, 4.19 and 4.19), and the component of management competency (mean=4.22, 4.16 and 4.11). 4) The factors affecting the desired competencies’ early childhood teachers of the child development centers were education level, experience in early childhood research and motivation for teacher developing.Item แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(วารสารวิจัยวิชาการ, 2023-03) รุ่งนภา ตั้งจิตรเจริญกุลบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินประสิทธิภาพ 2) ศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ และ 3) ตรวจสอบประสิทธิผลแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างในการประเมินประสิทธิภาพฯประกอบด้วยกลุ่มผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัยกลุ่มผู้ปกครอง และกลุ่มภาคีเครือข่ายฯ รวม 1,480 คนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพฯประกอบด้วย กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย 4 กลุ่มดังกล่าวของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยการ รวม 60แห่ง รวมจํานวน 2,280คน และกลุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบประสิทธิผลของแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพฯจากกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย 4 กลุ่มดังกล่าว รวม 1,470 คนเครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกเอกสาร แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ทําการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์วางกรอบข้อมูลประยุกต์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยที่สําคัญ พบว่า 1) ผลประเมินประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน 60แห่ง มีคะแนนประสิทธิภาพระหว่าง 57.08-100.00% เมื่อเปรียบเทียบคะแนนประสิทธิภาพระหว่างกลุ่มผู้ให้ข้อมูล พบว่าคะแนนประสิทธิภาพของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั้ง 4กลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ2) แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพบว่าแต่ละแห่งต้องปรับปรุงด้วยการเพิ่มผลผลิต/ผลลัพธ์ 2-3 ปัจจัย (7.51-54.68%) ปรับลดปัจจัยป้อน 2-3 ปัจจัย (12.73-53.31%) และการนํากระบวนการ ได้แก่ การเสริมพลังอํานาจ การเป็นพี่เลี้ยง การกํากับติดตาม และการประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมาใช้ในการช่วยส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ 3) ผลจากการตรวจสอบประสิทธิผลของแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ พบว่า แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์