Office of Strategy and Planning
Permanent URI for this community
Browse
Browsing Office of Strategy and Planning by Author "สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต"
Now showing 1 - 20 of 32
Results Per Page
Sort Options
Item 2025-2028 The Power of SDU Move forward with “Wisdom & Collaboration“(2025-01-31) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้มุ่งเน้นความเป็นเลิศ 5 ด้าน ตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ได้แก่ การศึกษาปฐมวัยแบบสหกิจศึกษา อาหารบนรากฐานแห่งความเชี่ยวชาญด้วยการปฏิบัติอย่างประณีต การพยาบาลและสุขภาวะที่มุ่งเน้นเด็กและผู้สูงวัย อุตสาหกรรมบริการด้วยมาตรฐานระดับสากล และกฎหมายและการเมืองแบบบูรณาการศาสตร์ โดยได้นำการพัฒนาเชิงพื้นที่แบบระบบเมืองมาใช้ในการพัฒนาพื้นที่ตามวิทยาเขตและศูนย์การศึกษา เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องItem SDU Directions: SMALL but SMART revised version 2023-2024(2023-05-26) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตพ.ศ. 2566-2567 เป็นช่วงปีสุดท้ายของการขับเคลื่อนทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต: จิ๋ว แต่ แจ๋ว ตามจุดเน้นสวนดุสิต พ.ศ. 2563-2567 ที่ประกาศใช้ ณ เดือนสิงหาคม 2563 ซึ่งใช้กรอบในการดำเนินงาน เพื่อผลักดันนโยบายร่วมกันให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่มุ่งหวังItem Storytelling in Thai Gastronomy: Strategic Promotion for Sustainable Global Tourism(2024-12-05) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตThailand National Strategic Plan 2018-2037 emphasizes promoting Thailand tourism, a policy aimed at upgrading tourism products and services to generaterevenue in various dimensions. It focuses on collaboration across all sectors, including government agencies, the private sector, educational institutions, and the general public. Thailand’s tourism initiatives are designed to meet the diverse needs of travelers while maintaining the country’s distinctive identity, traditions, and cultural heritage.This research contributes to the implementation of the National Strategic Plan, aiming to achieve its goals. The objectives of this research were: 1) to explore the tourism behavior and Thai food consumption preferences and style of both domestic and international tourists and 2) to distill strategic approaches to promote and present Thai food to quality tourists.This study employs a mixed-method approach. Quantitative research, utilizing online and paper-based questionnaires, aims to comprehend the overall experiences and behaviors of tourists. Samples are 726 domestic and international tourists who have traveled in Thailand. Qualitative research, involving multidisciplinary 13 experts focus group session, seeks to gain in-depth understanding and develop strategies for promoting Thai cuisine. The findings reveal three significant patterns in tourist preferences. First, tourists consistently prioritize food safety and hygiene standards above traditional aspects such as taste and presentation, reflecting evolving global tourism standards. Second, cultural narratives and sustainability significantly influence dining choices, with international tourists demonstratinghigh familiarity with Thai cuisine and showing particular interest in food heritage, origin stories, and traditional preparation methods. Third, while digital platforms serve as primary promotional channels for domestic tourists, international visitors rely more heavily on personal recommendations and authentic local experiences. The study also identifies distinct market segments, with Asian tourists representing the majority of international respondents, suggesting opportunities for targeted marketing strategies.Based on these insights, the research proposes a strategic framework for enhancing Thailand's gastronomic tourism through three key components: integration of cultural authenticity with modern service excellence; implementation of comprehensive digital storytelling strategies; and development of immersive culinary experiences. The framework emphasizes preserving traditional cooking methods and food culture while adapting to contemporary service standards and tourist expectations. Additionally, the study recommends developing certification systems for food safety and authenticity, creating engaging digital content that showcases Thai culinary heritage, and designing experiential dining programs that combine cultural learning with memorable gastronomic experiences. This balanced approach provides a sustainable model for tourism development while maintaining Thailand's distinctive culinary identity. This research contributes to the implementation of the National Strategic Plan, aiming to enhance the global recognition of Thai food.Item การปรุงรสนวัตกรรม: เมื่อ AI กลายเป็นเครื่องเทศลับในสำรับการศึกษาไทย(2025-03-11) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตกลิ่นหอมของเครื่องปรุงผสานกับเสียงตะหลิวในห้องปฏิบัติการอาหารของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต สะท้อนถึงองค์ความรู้ด้านอาหารที่สืบทอดมายาวนานกว่า 90 ปี จากรากฐานความเชี่ยวชาญด้านอาหาร มหาวิทยาลัยฯ ได้นำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อสร้างสรรค์ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำกัด การใช้ AI ไม่เพียงช่วยในการสร้างภาพอาหารเสมือนจริง แต่ยังส่งเสริมการพัฒนาทักษะของผู้เรียนและเปิดมุมมองใหม่ ๆ ในการเรียนรู้ บทความนี้จะสำรวจถึงการบูรณาการ AI เข้ากับการเรียนการสอนด้านอาหารไทย โดยเน้นที่ผลลัพธ์และความคิดเห็นของผู้เรียนและผู้สอน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในยุคดิจิทัลต่อไปItem ข้อมูลสารสนเทศ ประจำปีการศึกษา 2565(2022-12-23) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2565 จัดทำขึ้นเพื่อให้แต่ละหน่วยงานสามารถนำข้อมูลไปใช้และเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงประกอบการวางแผนและการตัดสินใจพัฒนางานด้านต่างๆ และเพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในไปในทิศทางเดียวกันItem ข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2564(2022-03-25) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2564 จัดทำขึ้นเพื่อให้แต่ละหน่วยงานสามารถนำข้อมูลไปใช้และเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงประกอบการวางแผนและการตัดสินใจพัฒนางานด้านต่างๆ และเพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในไปในทิศทางเดียวกันItem ข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2566(2023-02-23) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตข้อมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2566 จัดทำขึ้นเพื่อให้แต่ละหน่วยงานสามารถนำข้อมูลไปใช้และเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงประกอบการวางแผนและการตัดสินใจพัฒนางานด้านต่างๆ และเพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในไปในทิศทางเดียวกันItem ความก้าวหน้าการดำเนินงาน จากการประชุม Retreat(2025-01-31) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสวนดุสิตจัดการประชุม Retreat เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2567 ณ ห้องประชุมพวงเงิน อาคารจันทร์เจริญ วิทยาเขตสุพรรณบุรี โดยการประชุมนี้เป็นเวทีสำคัญที่กรรมการสภามหาวิทยาลัย และผู้บริหารได้ระดมความคิดเห็น รวมถึงเปิดโอกาสให้ตัวแทนนักศึกษาจาก ทุกคณะ วิทยาเขต และศูนย์การศึกษา ร่วมแสดงความเห็นที่สะท้อนถึงความภาคภูมิใจในความเป็นนักศึกษาสวนดุสิต และให้ข้อเสนอแนะกับมหาวิทยาลัยในมิติต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ และการจัดสวัสดิการให้กับนักศึกษา นอกจากนั้น หน่วยงานของมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะ/โรงเรียน สถาบัน/สำนัก วิทยาเขต ศูนย์การศึกษา กองพัฒนานักศึกษา หน่วยงานอิสระ และโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ ได้นำเสนอ ความก้าวหน้าการดำเนินงานต่อกรรมการสภามหาวิทยาลัย จากการประชุม Retreat นายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภามหาวิทยาลัยได้สะท้อนแนวคิดที่เป็นประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยในการพัฒนางาน เอกสารฉบับนี้เป็นการสรุปกระบวนการดำเนินงานที่ต่อเนื่องตามข้อเสนอแนะ ทั้งสิ่งที่ดำเนินการทันที (Take Action Now) และแผนที่จะดำเนินการ (Upcoming Plan) โดยมุ่งเน้นการสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนและการพัฒนามหาวิทยาลัยItem คู่ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปีการศึกษา 2566(2023-02-23) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ในปีการศึกษา 2566 เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการดำเนินงานในทุกมิติ สามารถวัดและประเมินผลการดำเนินงานคุณภาพได้ตรงกับบริบทและสะท้อนความเป็นสวนดุสิตได้อย่างแท้จริง และเพื่อการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องItem คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ฉบับปรับปรุงในปีการศึกษา 2564(2022-03-25) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ฉบับปรับปรุงในปีการศึกษา 2564 เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการดำเนินงานในทุกมิติ สามารถวัดและประเมินผลการดำเนินงานคุณภาพได้ตรงกับบริบทและสะท้อนความเป็นสวนดุสิตได้อย่างแท้จริง และเพื่อการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องItem คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ฉบับปรับปรุงในปีการศึกษา 2565(2022-12-23) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ฉบับปรับปรุงในปีการศึกษา 2565 เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการดำเนินงานในทุกมิติ สามารถวัดและประเมินผลการดำเนินงานคุณภาพได้ตรงกับบริบทและสะท้อนความเป็นสวนดุสิตได้อย่างแท้จริง และเพื่อการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องItem คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ปีการศึกษา 2567-2568(2025-01-31) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตตามแนวทางที่สอดคล้องกับนโยบาย The Power of SDU จึงมีการ "พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิยาลัยสวนดุสิต Suan Dusit University Quality Assurance (SDU QA)" เพื่อใช้เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการดำเนินงานในทุกมิติ สามารถวัดและประเมินผลการดำเนินงานคุณภาพได้ตรงกับบริบทและสะท้อนความเป็นสวนดุสิตได้อย่างแท้จริง เพื่อการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องItem ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565(สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 2022-10-10) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตข้อมูลผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายหรือตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ภายใต้แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข เพื่อรายงานให้กับสำนักงบประมาณรวบรวมและจัดทำรายงานเสนอต่อนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อไปItem ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566(สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 2023-10-10) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตข้อมูลผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายหรือตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ภายใต้แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข เพื่อรายงานให้กับสำนักงบประมาณรวบรวมและจัดทำรายงานเสนอต่อนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อไปItem ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567(สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 2024-10-09) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตข้อมูลผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายหรือตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ภายใต้แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข เพื่อรายงานให้กับสำนักงบประมาณรวบรวมและจัดทำรายงานเสนอต่อนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อไปItem รายงานการประเมินตนเอง (Seif-Assessment Report: SAR) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปี 2564(2022-03-25) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) มหาวิทยาลัยสวนดุลิต ประจำปีการศึกษา 2564 จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย และเพื่อนำใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2566 ระบบ SDU QA โดยรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ในวันที่ 18-19 ตุลาคม พ.ศ. 2565Item รายงานการประเมินตนเอง (Seif-Assessment Report: SAR) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2565(2022-12-23) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) มหาวิทยาลัยสวนดุลิต ประจำปีการศึกษา 2565 จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย และเพื่อนำใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2566 ระบบ SDU QA โดยรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ในวันที่ 3-4 ตุลาคม พ.ศ. 2566Item รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) มหาวิทยาลัยสวนดุลิต ประจำปีการศึกษา 2566(สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 2024-09-27) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) มหาวิทยาลัยสวนดุลิต ประจำปีการศึกษา 2566 จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย และเพื่อนำใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปีการศึกษา 2566 ระบบ SDU QA โดยรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ในวันที่ 17-18 ตุลาคม พ.ศ. 2567Item รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2564(2022-10-31) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ในวันที่ 18-19 ตุลาคม 2565 ตามระบบ SDU QA (Suan Dusit University Quality Assessment) ซึ่งเป็นระบบประกันคุณภาพกรศึกษาภายในที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิตพัฒนาขึ้น เพื่อเป็นการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งองค์การ สนองตอบต่อทิศทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (SDU Direction) พ.ศ.2563-2567Item รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2565(2022-10-31) สำนักยุทธศาสตร์และแผน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ในวันที่ 3-4 ตุลาคม 2566 ตามระบบ SDU QA (Suan Dusit University Quality Assessment) ซึ่งเป็นระบบประกันคุณภาพกรศึกษาภายในที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิตพัฒนาขึ้น เพื่อเป็นการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กร