ใช้น้ำประปาในการหุงข้าวได้หรือไม่
dc.contributor.author | พรทิพย์ บำรุงแคว้น | |
dc.contributor.author | โรงเรียนการเรือน | |
dc.date.accessioned | 2025-03-18T06:56:43Z | |
dc.date.available | 2025-03-18T06:56:43Z | |
dc.date.issued | 2025-03-16 | |
dc.description | Info ประชาสัมพันธ์ความรู้ เรื่อง "ใช้น้ำประปาในการหุงข้าวได้หรือไม่" "แม้ว่าการเกิดสารไตรฮาโลมีเทนจะเกิดขึ้นจากคลอรีนทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ภายในน้ำแล้วยังขึ้นอยู่กับอีกหลายปัจจัย" เมื่อเข้าสู่ระบบผลิตน้ำประปาที่มีขั้นตอนการปรับปรุงคุณภาพน้ำดิบ การตกตะกอนและการกรองแล้ว ปริมาณสารอินทรีย์จะถูกกำจัดออกไปได้มากจึงเหลือมาทำปฏิกิริยากับคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำน้อยมาก โดย การประปาส่วนภูมิภาค มีควบคุมปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือสำหรับฆ่าเชื้อโรคในน้ำจนถึงผู้ใช้น้ำให้มีค่าอยู่ในช่วง 0.2 มิลลิกรัม เป็นไปตามเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลก (WORLD HEALTH ORGANIZATION : WHO) กำหนด สำหรับข้าวสารหรือแป้งชนิดต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบในการปรุงอาหารจัดอยู่ในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลขนาดใหญ่ จึงทำปฏิกิริยากับคลอรีนอิสระได้ช้ามาก ยิ่งไปกว่านั้นคลอรีนอิสระคงเหลือและไตรฮาโลมีเทนในน้ำ จะระเหยออกได้ง่ายมากเมื่อสัมผัสอากาศหรือความร้อนจากการหุงต้ม คลอรีนจึงแทบไม่เหลืออยู่ในน้ำเลย ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดสารไตรฮาโลมีเทน เนื่องจากการนำน้ำประปาที่มีคลอรีนมาใช้ประกอบอาหารจึงน้อยมากๆ อีกทั้งการประปาส่วนภูมิภาค มีการทดสอบหาปริมาณไตรฮาโลมีเทนควบคู่กับคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำประปาอยู่เป็นประจำ จึงวางใจได้ว่าน้ำประปาปลอดภัยกับต่อการอุปโภคและบริโภค | |
dc.identifier.uri | https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5284 | |
dc.publisher | โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต | |
dc.subject | น้ำประปา | |
dc.subject | สารไตรฮาโลมีเทน | |
dc.subject | คลอรีน | |
dc.subject | หุงข้าว | |
dc.title | ใช้น้ำประปาในการหุงข้าวได้หรือไม่ |