รูปแบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาตามแนวปฏิรูประบบราชการ พ.ศ. 2545 ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตภาคกลางตอนบน (ปทุมธานี)
dc.contributor.author | พา เหมือนประยูร | |
dc.date.accessioned | 2/12/2023 11:52 | |
dc.date.available | 2/12/2023 11:52 | |
dc.date.issued | 2009 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามแนวปฏิรูประบบราชการ พ.ศ. 2545 ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนในสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตภาคกลางตอนบน (ปทุมธานี) เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาและรูปแบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนและอุปสรรคของการพัฒนาจากรูปแบบการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดปทุมธานี เพื่อค้นหารูปแบบของการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับองค์กรต่างๆ ที่ควรนําไปใช้ในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยมีการวิจัยเชิงคุณภาพมีการกําหนดผู้ให้ข้อมูลสําคัญที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติการ ผู้สนับสนุนการสอนในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จํานวน 14 คน และการสนทนากลุ่ม คือ การระดมสมองของผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาจังหวัดปทุมธานี จํานวน 1 ครั้ง จํานวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แนวคําถามในการสัมภาษณ์เชิงลึก แนวคําถามในการสนทนากลุ่มและแบบสอบถาม จํานวน 2 ฉบับ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์และ การจัดสนทนากลุ่มได้นํามาวิเคราะห์และแจกแจงเนื้อหาสาระ จากนั้นผู้วิจัยได้พัฒนาตัวแบบโดยการสังเคราะห์จากผลการศึกษาเพื่อวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนและอุปสรรคของการพัฒนาจากรูปแบบการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดปทุมธานี เพื่อค้นหารูปแบบของการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับองค์กรต่างๆ ที่ควรนําไปใช้ในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยมีการวิจัยเชิงคุณภาพมีการกําหนดผู้ให้ข้อมูลสําคัญ ที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติการ ผู้สนับสนุนการสอนในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จํานวน 14 คน และการสนทนากลุ่ม คือ การระดม สมองของผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาจังหวัดปทุมธานี จํานวน 1 ครั้ง จํานวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แนวคําถามในการสัมภาษณ์เชิงลึก แนวคําถามในการสนทนากลุ่มและแบบสอบถาม จํานวน 2 ฉบับ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์และ การจัดสนทนากลุ่มได้นํามาวิเคราะห์และแจกแจงเนื้อหาสาระ จากนั้นผู้วิจัยได้พัฒนาตัวแบบโดยการสังเคราะห์จากผลการศึกษา | |
dc.identifier.uri | https://repository.dusit.ac.th/handle/123456789/713 | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต | |
dc.subject | การศึกษาขั้นพื้นฐาน | |
dc.subject | การปฏิรูประบบราชการ | |
dc.subject | บุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา | |
dc.subject | การพัฒนาครู | |
dc.title | รูปแบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาตามแนวปฏิรูประบบราชการ พ.ศ. 2545 ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตภาคกลางตอนบน (ปทุมธานี) | |
mods.location.url | https://ebooks.dusit.ac.th/detail.php?recid=69 |