Browsing by Author "Sirinthip Suttapong"
Now showing 1 - 2 of 2
Results Per Page
Sort Options
Item Petitioning for the Geographical Indication (GI) Symbol Usage on �Trang Roast Pork� Manufacturing Process(Research and Development Institute Suan Dusit University, 2019) Supawadee Nakban; Sawitree Nuwongsri; Dudsadee Sapbua; Thippika Thorarit; Sirinthip Suttapong; S. Nakban; School of Culinary Arts, Suan Dusit University, Trang, 92000, Thailand; email: supawadeenakban@gmail.com�Trang Roast Pork� is Trang Province�s unique product which has a special manufacturing process informed by Trang�s local wisdom. The materials or ingredients for �Trang Roast Pork� manufacturing process are from the local areas. �Trang Roast Pork� signature characteristics are pork skins that are crackling, golden yellow, aromatic, tasty and full flavored. Trang Province has registered �Trang Roast Pork� as a Geographical Indication Product or GI in 2005. According to Thailand�s Geographical Indication Protection Act B.E. 2546 (2003), �Trang Roast Pork� manufacturers, who have roast pork manufacturing processes and comply with the Geographical Indication Handbook, have the right to apply for the usage of the Geographical Indication (GI) symbol in order to protect the �Trang Roast Pork� producers and consumers, maintain the uniqueness and standards, add value to �Trang Roast Pork�, create consumers� confidence and increase the trade benefits against unfair trade and competitiveness. � 2019, Research and Development Institute Suan Dusit University. All rights reserved.Item การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมโกยเปตจากแป้งข้าวอัลฮัมดูลิลละห์(วารสารวัฒนธรรมอาหารไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2024): กรกฎาคม - ธันวาคม 2567, 2025-01-09) Patthama Kanjanarak; Sirinthip Suttapong; Dudsadee Supbua; ไชยสิทธิ์ พันธุ์ฟูจินดา; กฤติน ชุมแก้วการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสูตรมาตรฐานของขนมโกยเปต (ทองพับ) และ เพื่อศึกษาปริมาณอัตราส่วนแป้งข้าวอัลฮัมดูลิลละห์ที่ในผลิตภัณฑ์ขนมโกยเปต (ทองพับ) ที่เหมาะสม โดยผู้วิจัยศึกษาค้นคว้าสูตรขนมทองพับที่เป็นที่ยอมรับจำนวน 3 สูตร จากนั้นนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหาร 5 ท่าน ทำการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัส 9 – point hedonic scale พบว่า สูตรที่ 3 ได้รับคะแนนความชอบจากผู้เชี่ยวชาญมากที่สุด โดยให้ระดับความชอบโดยรวมอยู่ในระดับ ชอบมาก (7.38) จากนั้นนำสูตรที่ 3 ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นขนมโกยเปตจากแป้งข้าวอัลฮัมดูลิลละห์ โดยใช้แป้งข้าวข้าวอัลฮัมดูลิลละห์ทดแทนแป้งข้าวเจ้า 3 ระดับ คือ อัตราส่วนร้อยละ 30 50 และ 100 ของน้ำหนักแป้งข้าวเจ้าทั้งหมด ศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัส และคุณภาพทางกายภาพของขนมโกยเปต พบว่าผู้ทำสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัส จำนวน 50 คน พบว่าการใช้แป้งข้าวอัลฮัมดูลิลละห์ทดแทนแป้งข้าวเจ้า อัตราส่วน ร้อยละ 30 ของน้ำหนักแป้งข้าวเจ้า ได้รับการยอมรับสูงสุด อยู่ในระดับชอบมาก คะแนนความชอบโดยรวม (7.52) โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) การทดสอบคุณภาพด้านกายภาพด้านสี พบว่า การเพิ่มปริมาณแป้งข้าวอัลฮัมดูลิลละห์มากขึ้น ส่งผลให้ค่าความ สว่าง (L*) ค่าสีแดง (a*) และ ค่าสีเหลือง (b*) มากขึ้น ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีสีเข้มขึ้น เช่นเดียวกับค่าความกรอบ Hardness (g Force) ที่เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเพิ่มปริมาณแป้งข้าวอัลฮัมดูลิลละห์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) และพบว่าการใช้แป้งข้าวอัลฮัมดูลิลละห์ทดแป้งข้าวเจ้าที่อัตราส่วนร้อยละ 30 มีค่า Moisture และ ค่า Aw ต่ำที่สุด แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) กับอีกทั้ง 2 สูตร