ดังนภสร ณ ป้อมเพชรสมศักดิ์ เจริญพูลสุชาดา โทผลขวัญใจ จริยาทัศน์กร2025-02-242025-02-242024-02-05บทความวิจัยISSN 1513-8429https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/4167การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ และสังเคราะห์ องค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อ นํามาใช้เป็นองค์ประกอบในการสนับสนุนการท่องเที่ยวชุมชน 2) พัฒนาศักยภาพของเยาวชนให้มีความ สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) จัดตั้งศูนย์การพัฒนาศักยภาพของเยาวชนเพื่อการท่องเที่ยวชุมชน และ 4) ศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายระหว่างศูนย์การพัฒนาเยาวชนเพื่อการท่องเที่ยวชุมชน โดยทําการเก็บ ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามจากประชนชนและเยาวชนจํานวน 1,507 คน และข้อมูลเชิงคุณภาพได้จาก การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องจํานวน 90 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) การวิเคราะห์องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามแนวคิด Diamond Model สรุปได้ว่า ด้านการตอบสนองต่อนักท่องเที่ยวหรือผู้มาเยี่ยมชมชุมชน ด้านความพร้อมเกี่ยวกับปัจจัยการผลิต ดัานความต่อเนื่องและสนับสนุนการเป็นธุรกิจท่องเที่ยวชุมชน ด้านกลยุทธ์ โครงสร้าง และสถานการณ์การแข่งขัน และด้านนโยบายรัฐบาล มีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก 2) การสังเคราะห์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้และได้ทําการอบรมให้เยาวชนจํานวน 165 คน ผ่าน 5 หลักสูตร 3) การจัดตั้งศูนย์การพัฒนาเยาวชนเพื่อการทองเที่ยวชุมชนโดยเน้นการดําเนินกิจกรรม 4 แนวทางได้แก่ การให้ ความรู้ผ่านผ่านเครือข่ายออนไลน์ การนําวิทยากรหรือปราชญ์ในพื้นที่เข้ามาให้ความรู้แก่เยาวชน การแทรก กิจกรรมการพัฒนาในกิจกรรมการเรียน และการจัดกิจกรรมผ่านชมรมมัคคุเทศน์ของโรงเรียน 4) เครือข่าย ระหว่างศูนย์การพัฒนาเยาวชนเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนมีหน่วยงานเข้าร่วมในเบื้องต้นจํานวน 9 หน่วยงาน โดยมีการดําเนินกิจกรรมใน 4 แนวทางคือ การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ การเรียนรู้ข้ามพื้นที่ การแลกเปลี่ยน วิทยากร และการส่งต่อนักท่องเที่ยวthการพัฒนาศักยภาพเยาวชนภูมิปัญญาท้องถิ่นการท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1การพัฒนาศักยภาพเยาวชนโดยใช้ภูมิปัญญาท่องถิ่นเป็นฐานเพื่อรองรับการท่องเทยี่วชุมชนในพนื้ที่กลุ่ม จังหวัดภาคกลางตอนลา่ง 1Article