จิรานุช โสภา2025-03-232025-03-232023-05-23https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5473จากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 73 ฉบับที่ 25075 วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 กล่าวว่า การเลือกตั้งใหญ่ของประเทศไทยเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 นับเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทางการเมือง โดยมีปรากฏการณ์ “หักปากกาเซียน” “บ้านใหญ่ล้ม” และกระแส “ด้อม” ที่สะท้อนถึงความตื่นตัวทางการเมืองของคนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ การเลือกตั้งครั้งนี้จึงแตกต่างจากเดิมอย่างชัดเจนด้วยอิทธิพลของ Generation ซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่พรรคการเมืองต้องพิจารณาอย่างรอบด้านเพื่อวางกลยุทธ์การสื่อสารให้เหมาะสมกับผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละรุ่น กลุ่ม Baby Boomer เคร่งขนบ อนุรักษนิยม ส่วน Generation X ยึดความมั่นคงและเสรีภาพในการใช้ชีวิต ขณะที่ Generation Y เน้นความสมดุลชีวิตและงาน ทะเยอทะยาน ส่วน Generation Z มีความคิดก้าวหน้า เปิดรับความหลากหลาย และให้ความสำคัญกับสิทธิมนุษยชน สุขภาพจิต และการแสดงออกอย่างอิสระ แม้ผลการเลือกตั้งจะสะท้อนความหวังและพลังของประชาชน แต่ความท้าทายที่แท้จริงคือการผลักดันนโยบายให้สำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ศักยภาพของรัฐบาลใหม่ในบริบทที่เต็มไปด้วยความเปลี่ยนแปลงthการเลือกตั้ง 2566GenerationBaby BoomerGeneration XGeneration YGeneration Zกลยุทธ์การสื่อสารการเมืองไทยด้อมนโยบายสวนดุสิตโพลมหาวิทยาลัยสวนดุสิต“การเมืองกับเรื่องของ Gen”Article