นงค์ลักษณ์ โชติวิทยธานินทร์2025-03-232025-03-232021-11-16https://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5441จากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 72 ฉบับที่ 24680 วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 กล่าวว่า การทำโพลเป็นเครื่องมือสำคัญในสังคมเสรีที่ใช้สะท้อนความคิดเห็นของประชาชนในประเด็นสำคัญต่าง ๆ แม้เทคโนโลยีจะเข้ามาดิสรัปต์การทำโพลจนเกิดผู้เล่นใหม่ที่สามารถทำโพลราคาถูกได้ แต่การสำรวจความคิดเห็นยังคงมีความจำเป็นสูง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน สื่อ และนักคิดยังต้องพึ่งพาข้อมูลจากโพลในการดำเนินงานและวางนโยบาย อย่างไรก็ตาม วิธีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างกัน เช่น การสัมภาษณ์สด การสำรวจออนไลน์ หรือการใช้ระบบโทรศัพท์อัตโนมัติ อาจทำให้เกิดความคาดเคลื่อนของผลลัพธ์ได้ แม้จะใช้คำว่า "ตัวแทนระดับประเทศ" หรือศัพท์ที่ดูน่าเชื่อถืออื่น ๆ แต่ก็ไม่ได้รับประกันความแม่นยำเสมอไป จำนวนผู้ตอบที่ลดลงไม่กระทบผลโพลหากกลุ่มตัวอย่างตรงประเด็น การทำโพลจึงยังไม่ล้มหายไป แต่จำเป็นต้องพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะในยุคที่ผู้ใช้โพลมีความรู้เท่าทัน และตั้งคำถามต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูลมากยิ่งขึ้นthโพล (Polls)สังคมเสรี (Free society)ความคิดเห็นประชาชน (Public opinion)ดิสรัปชั่น (Disruption)โพลราคาถูก (Cheap polls)ตัวแทนระดับประเทศ (Nationally representative)การสำรวจออนไลน์ (Online survey)ความน่าเชื่อถือ (Credibility)การคาดเคลื่อน (Deviation)การพัฒนาโพล (Poll development)สวนดุสิตโพลมหาวิทยาลัยสวนดุสิตทำโพลอย่างไร? “ให้ใช้งาน” ได้ (ดี)Article