ธนะวิทย์ เพียรดีจริยา เกิดไกรแก้วเบญจวรรณ ขุนฤทธิ์นัฏจวา ยีหะพีรดล เพชรพลาย2025-03-122025-03-122023-06-15ธนะวิทย์ เพียรดี, จริยา เกิดไกรแก้ว, เบญจวรรณ ขุนฤทธิ์, นัฏจวา ยีหะ, พีรดล เพชรพลายhttps://repository.dusit.ac.th//handle/123456789/5117The 11th PSU Education Conference Academic Honesty in Disruptive Education: A Challenge to Global Citizens / Conference Hall วันที่ 15 - 16 มิถุนายน 2566 ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาโมเดลการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์บน Facebook “กล้วย กล้วย” 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อโมเดลการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์บน Facebook “กล้วย กล้วย” ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคคลที่เข้ามาเยี่ยมชม Facebook “กล้วย กล้วย” จำนวน 200 คน และกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Krejcie & Morgan (1970) คือ 132 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ Facebook และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อโมเดลการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์บน Facebook “กล้วย กล้วย” ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์บน Facebook “กล้วย กล้วย” ได้นำเสนอเนื้อหาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ด้านเนื้อหา ด้านการเข้าถึง และด้านการดูแลรักษาระบบ โดยถ่ายทอดองค์ความรู้ในรูปแบบของสื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ ภาพนิ่ง สื่ออินโฟกราฟิก และคลิปวีดิทัศน์ 2) ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.32 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66thสื่อประชาสัมพันธ์, Facebook, แป้งกล้วยโมเดลการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์บน Facebook "กล้วย กล้วย"Model for creating online public relations media on the Facebook "Kluay Kluay"Article